กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ


“ โครงการฟันสวยด้วยมือเรา ”

ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนัสรินสะมุอิง

ชื่อโครงการ โครงการฟันสวยด้วยมือเรา

ที่อยู่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4157-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันสวยด้วยมือเรา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวยด้วยมือเรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันสวยด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4157-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากในประชากรไทยเป็นปัญหาที่สั่งสมมาเป็นระยะเวลานาน แม้ว่าเมื่อประเมินจากสถานการณ์ในปัจจุบันจากการตรวจ ติดตามหรือประเมินผ่านตัวชี้วัดที่แสดงได้ จะเห็นแนวโน้มที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามภายใต้สถานการณ์โดยรวมที่ดูเหมือนจะดีขึ้นในหลาย ๆ องค์ประกอบแต่สิ่งที่กำลังกลายเป็นภาวะคุกคามสภาวะทันตสุขภาพของประชาชนไทยและการดำเนินงานทันตสาธารณสุขของประเทศคือ การเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อชีวิตประจำวันในประชากรทุกกลุ่มอายุ อันได้แก่ การเลี้ยงดูบุตรหลาน พฤติกรรมการบริโภคอาหารเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นองค์ประกอบที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้นเหล่านี้ล้วนมีสาเหตุมาจากปัจจัยทางสังคมต่อสุขภาพช่องปาก (Social determinsnts in oral health) ซึ่งบ่งชี้ให้เห็นแล้วว่าจะกลายเป็นปัจจัยหลักต่อปัญหาการดำเนินงานทันตสาธารณสุขของประเทศในอนาคต จากการสำรวจปัญหาทันตสาธารณสุขทั่วประเทศพบว่า พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีปัญหาสุขภาพช่องปากสูงสุด โดยผลสำรวจของกรมอนามัยในปี 2554 พบว่า คนไทยเฉลี่ยร้อยละ 50 เป็นโรคฟันผุ พบสูงสุดในพื้นที่ภาคใต้ร้อยละ 65 โดยเฉพาะใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานีและนราธิวาส มีความชุกโรคฟันผุมากกว่าที่อื่น กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 2555) ปัญหาดังกล่าว ส่วนใหญ่เกิดจากการชอบกินขนมจุบจิบ ลูกอม น้ำหวาน น้ำอัดลม ขี้เกียจแปรงฟัน แปรงฟัน ไม่ถูกวิธีและไม่เคยมาพบทันตบุคลากร ทั้งนีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะกว๊ะ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวและตระหนักว่าควรได้รับการแก้ไขและพัฒนาต่อไป ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการฟันสวยยิ้มใสโดยเน้นการมีส่วนร่วม เพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมที่ดีในการดุแลสุขภาพช่องปากของประชาชนทั่วไปให้สามารถนำไปปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี อย่างยั่งยืนและสามารถเผยแพร่สู่ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและมีการแแปรงฟันอย่างส่ม่ำเสมอทุกวัน
  3. 3.เพื่อลดอัตราการเกิดฟันผุในประชาชนทั่วไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีขึ้น เกิดการรับรู้ ตระหนัก และมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถเผยแพร่สู่ชุมชนต่อไปได้ 2.ประชาชนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี(อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้า-ก่อนนอน)


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การจัดดำเนินโครงการ "ฟันสวยด้วยมือเรา" ได้รับความร่วมมือที่ดีจากชาวบ้านในตำบลจะกว๊ะ และสนใจเข้าร่วมโครงการ สิ่งที่ได้รับจากการดำเนินโครงการครั้งนี้คือ ประชาชนทั่วไปได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีและมีความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น ตลอดจนชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีขึนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งประชาชนสามารถนำไปปฏิบัติตนเพื่อเป็นแบบอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกต้อง ยั่งยืนและสามารถเผยแพร่สู่ชุมชนต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและมีการแแปรงฟันอย่างส่ม่ำเสมอทุกวัน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อลดอัตราการเกิดฟันผุในประชาชนทั่วไป
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) 2.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและมีการแแปรงฟันอย่างส่ม่ำเสมอทุกวัน (3) 3.เพื่อลดอัตราการเกิดฟันผุในประชาชนทั่วไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการฟันสวยด้วยมือเรา จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4157-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนัสรินสะมุอิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด