กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง ”

ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีย์ ดำมีศรี

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1523-3-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1523-3-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,285.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๕๔ กำหนดหน้าที่ของรัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย โดยรัฐต้องดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดําเนินการด้วย พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่จัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ตามมาตรา 16 (๙) ในด้านการจัดการศึกษา และพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 กำหนดให้เทศบาลตำบลมีหน้าที่ตามมาตรา 50 (6)  ให้ราษฎรได้มีการศึกษาอบรม
  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือเป็นสถานศึกษา ตามมาตรา 4    ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 ซึ่งเป็นภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับผิดชอบส่งเสริมและสนับสนุนการอบรมเลี้ยงดู        จัดประสบการณ์ และส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ให้เด็กเล็กมีความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย มีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อศักยภาพในการจัดการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งจัดให้มีการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่เหมาะสมในช่วงรอยต่อตั้งแต่ก่อนระดับอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษาอย่างต่อเนื่อง การมีพัฒนาการที่สมวัยนั้นถือได้ว่าเป็นคุณภาพชีวิตประชากรอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประชากรวัยเด็กช่วงอายุ 2-4 ปี นั้นถือได้ว่าเป็นช่วงวัยแห่งการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเรียนอย่างเป็นทางการตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับ      โดยเด็กในช่วงวัยดังกล่าวมีพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ทั้งทางด้านสมอง ร่างกาย อารมณ์และจิตใจที่สามารถเป็นปัจจัยสนับสนุนเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการเรียนรู้ในอนาคต
การดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลองในปัจจุบัน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้มีการส่งเสริมพัฒนาการให้กับเด็กทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาพอนามัยของเด็กเป็นส่วนสำคัญ เนื่องจากถ้าเด็กมีสุขภาพอนามัยดีแล้ว เด็กก็จะมีความพร้อมในการที่จะเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้มีการจัดกิจกรรม/โครงการเกี่ยวกับสุขภาพให้กับเด็ก ผู้ปกครอง และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี และรวมทั้งจัดสถานที่อนามัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีความพร้อมอยู่ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคต่างๆ และบันทึกพัฒนาการ คัดกรองสุขภาพประจำวัน ซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเห็นว่าในการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยนั้น ควรที่จะต้องมีการติดตาม ประเมินผล เพื่อนำข้อมูลดังกล่าวมาเฝ้าระวัง หาวิธีการส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างหลากหลาย จึงต้องการที่จะนำหลักการเฝ้าระวังและการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัย (DSPM) มาใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการพัฒนาดังกล่าว เนื่องจากคู่มือ DSPM เป็นคู่มือที่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก รวมถึงอสม. ใช้เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของลูกหลานอย่างใกล้ชิด หากสงสัยล่าช้าก็สามารถแก้ไขส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยตามคำแนะนำในคู่มือ DSPM นี้ได้ทันที ประกอบกับนโยบายของกระทรวงมหาดไทยที่มุ่งให้สถานศึกษาทุกแห่งจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพด้วยความยั่งยืน การปลูกฝังปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับผู้เรียน จึงเป็นอีกวิธีหนึ่งในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เนื่องจากเป้าหมายการสอนเด็กปฐมวัยมีจุดเน้นหรือมาตรฐานหลักอยู่ที่การพัฒนาทางร่างกาย การเคลื่อนไหว การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ และส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้แข็งแรงว่องไว รวมถึงพัฒนาสมอง เพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านความคิดความเข้าใจตามวัย พัฒนาจิตใจ ให้เด็กสามารถช่วยเหลือแบ่งปัน ทำงานเป็นกลุ่มได้ รู้จักมีน้ำใจ และรู้จักให้อภัย ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรัก ความเมตตาต่อมนุษย์และสัตว์ รู้แพ้รู้ชนะ มากกว่าเน้นเรื่องวิชาการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง จึงเห็นว่ากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นได้เน้นให้มีโครงการบูรณาการด้านอาหาร โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัย ผู้จัดทำโครงการจึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัยโดยนำการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ร่วมกับแบบประเมินเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยรวมถึงผลกระทบจากพัฒนาการล่าช้า และส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการตามวัย มีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงต่อไปได้ด้วยดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๒) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองรับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้ และการรับรู้ปัญหา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
  2. กิจกรรมที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นกิจกรรมกลุ่มย่อย
  3. กิจกรรมที่ 3 การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติ
  4. กิจกรรมที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 46
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครู และผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้น 2.ครู และผู้ปกครองรับรู้ผลกระทบพัฒนาการล่าช้า และตระหนักและให้ความสำคัญถึงการส่งเสริม
  พัฒนาการเด็กปฐมวัยมากขึ้น 3.ครูและผู้ปกครองรับรู้วิธีการส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้อง และสามารถปฏิบัติได้อย่างยั่งยืน 4.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เป็นไปตามแผนงานโครงการและวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้เกิดผลสัมฤทธิ์ คุ้มค่ากับการใช้จ่ายในการดําเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๒) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองรับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการตามวัย
ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๒) ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายรับรู้วิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๒) ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีพัฒนาการตามวัย
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 89 73
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43 27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 46 46
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๒) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองรับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้ และการรับรู้ปัญหา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม (2) กิจกรรมที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นกิจกรรมกลุ่มย่อย (3) กิจกรรมที่ 3 การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติ (4) กิจกรรมที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง

รหัสโครงการ 63-L1523-3-11 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกลิ้งกลอง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1523-3-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอารีย์ ดำมีศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด