กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว


“ โครงการหนูๆฟันดีศรีบ้านขาว ประจำปี 2563 ”

ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมศรี คงไข่

ชื่อโครงการ โครงการหนูๆฟันดีศรีบ้านขาว ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5222-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูๆฟันดีศรีบ้านขาว ประจำปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูๆฟันดีศรีบ้านขาว ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูๆฟันดีศรีบ้านขาว ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5222-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กไทยเป็นปัญหาที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนประถมศึกษา ซึ่งเป็นวัยของการวางรากฐานที่สำคัญของชีวิต ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และพัฒนาการด้านอื่นๆ (พจนารถ พุ่มประกอบศรี, 2558) จากรายงานผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555 พบว่า อัตราการเกิดโรคฟันผุของเด็กอายุ3 ปี,5ปี และ 12 ปีมีอัตราผุสูงถึงร้อยละ 42.03, 78.5 และ 52.3 ตามลำดับ มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุดในฟันน้ำนม (dmft) และฟันแท้ (DMFT) เท่ากับ 4.4 และ 1.3 ซี่ต่อคน โดยภาคที่มีโรคฟันผุมากที่สุดคือภาคใต้ พบว่า เด็กอายุ 5 และ 12 ปี มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด ของฟันน้ำนม (dmft) และฟันแท้ (DMFT) เท่ากับ 5.0 และ 1.1 ซี่ต่อคน (สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย, 2556) นอกจากนี้ยังพบว่า ในเด็กอายุ 12 ปี มีสภาวะเหงือกอักเสบ ร้อยละ 50.3 มีปัญหาเลือดออกและมีหินน้ำลาย คิดเป็นร้อยละ 29.6 และ 20.7 ตามลำดับ (สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย, 2556) โรคในช่องปากส่งผลกระทบกับคุณภาพชีวิต ดังนั้นการให้บริการด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูโรคในช่องปากจึงมีความจำเป็น ซึ่งในอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา พบว่าปัญหาโรคในช่องปากพบได้ในทุกกลุ่มอายุ โดยพบว่าเด็กเริ่มมีฟันผุตั้งแต่ 18 เดือน และในเด็ก 3 ปีเป็นโรคฟันผุ ร้อยละ 42.03, 51.51, 49.27, 40.7 และ 43.32 ในปี 2557, 2558, 2559, 2560 และ 2561 ตามลำดับ  ในเด็ก 12 ปีมีอัตราการเกิดฟันแท้ผุร้อยละ 40.5, 37.66, 19.80, 22.11 และ 24.47 ในปี 2557, 2558, 2559, 2560 และ 2561
แม้ในภาพรวม การคงอยู่ของฟันในช่องปากจะเพิ่มมากขึ้นในทุกกลุ่มอายุ และมีการให้บริการทันตกรรมมากขึ้น เพิ่มการเข้าถึงของประชาชน แต่จากการสำรวจทุกครั้งพบว่าปัญหาช่องปากยังคงเกิดขึ้นตลอดเวลา มี ข้อมูลจากการสำรวจค่าฟันผุ ถอน อุด (DMFT) ในเด็ก 12 ปี อยู่ที่ระดับ 0.7 ซี่/คน ในปี 2558 0.66 ซี่/คน ในปี 2559 0.68 ซี่/คน ในปี 2560 และ 0.49 ซี่/คน ในปี 2561
และในพื้นที่ตำบลบ้านขาว พบว่ากลุ่มอายุ 6-12 ปี มีการเกิดโรคฟันผุ เฉลี่ย 1 ซี่/คน ทีค่าฟันผุ ถอน อุด(dmft) เท่ากับ 1.52 ในปี 2561 (ฝ่ายทันตสาธารณสุข รพ.สต.บ้านขาว, 2561) ซึ่งปัญหาโรคฟันผุดังกล่าวส่งผลกระทบโดยตรงกับสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิต และการเรียน ดังนั้นฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านขาว ซึ่งมีหน้าที่โดยตรงในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากให้กับประชาชนโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กปฐมวัยและกลุ่มเด็กวัยเรียน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเพื่อลดปัญหาสุขภาพช่องปากในกลุ่ม 3-5 ปีและกลุ่ม 6-12 ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก 2. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการการเคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ ร้อยละ 50 3. เด็ก 6 ปี ที่ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ ต้องยึดติดสมบูรณ์ 4. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี มีการแปรงฟันตอนเที่ยงทุกวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจช่องปากเด็กวัยเรียน ให้ทันตสุขศึกษาและสอนทำความสะอาดช่องปาก บริการเคลือบหลุมร่องฟันเด็ก อุดฟัน ขูดหินปูน และกิจกรรมเที่ยงวันฟันดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. พัฒนาคุณภาพและรูปแบบการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มอายุ 3-5 ปี และ 6-12 ปี ให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างแท้จริง

  2. เกิดความร่วมมือระหว่างสถานพยาบาลของรัฐ (โรงพยาบาลระโนดและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านขาว) โรงเรียนในเขตตำบลบ้านขาว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสนับสนุนให้เกิดระบบการจัดบริการด้านทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก 2. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการการเคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ ร้อยละ 50 3. เด็ก 6 ปี ที่ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ ต้องยึดติดสมบูรณ์ 4. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี มีการแปรงฟันตอนเที่ยงทุกวัน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 50 ของเด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก 2. ร้อยละ 50 ของเด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการการเคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ ร้อยละ 50 3. ร้อยละ 75 ของเด็ก 6 ปี ที่ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ ต้องยึดติดสมบูรณ์ 4. ร้อยละ 90ของเด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี มีการแปรงฟันตอนเที่ยงทุกวัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก  2. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับการการเคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ ร้อยละ 50 3. เด็ก 6 ปี ที่ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ ต้องยึดติดสมบูรณ์ 4. เด็ก 3-5 ปี และ เด็ก 6-12 ปี มีการแปรงฟันตอนเที่ยงทุกวัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจช่องปากเด็กวัยเรียน ให้ทันตสุขศึกษาและสอนทำความสะอาดช่องปาก บริการเคลือบหลุมร่องฟันเด็ก อุดฟัน ขูดหินปูน และกิจกรรมเที่ยงวันฟันดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูๆฟันดีศรีบ้านขาว ประจำปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5222-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมศรี คงไข่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด