กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ประจำปี 2563 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาวรรณ ศรีสังข์

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L4282-1-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ประจำปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L4282-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อน เป็นที่ติดต่อเรื้อรัง ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ทำให้ปรากฏอาการที่ผิวหนังและเส้นปราสาทส่วนปลาย การดำเนินของโรคเป็นไปอย่างช้าๆ เมื่อเส้นปราสาทถูกทำลายทำให้เกิดความพิการที่ตา มือ และเท้าได้ จากการที่องค์การ อนามัยโลก ได้กำหนดให้ความชุกของโรคเรื้อนที่ไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขต้องต่ำกว่า 1 ต่อหมื่นประชากร ประเทศไทยได้ดำเนินการโครงการป้องกันควบคุมโรคเรื้อนได้สำเร็จ จนไม่เป็นปัญหาในระดับประเทศ แต่จากข้อมูล ปี 2558 – 2552 พบว่า จังหวัดนราธิวาส ยังมีอัตราความชุกมากกว่า 1 ต่อหมื่นประชากร และ พบว่า มีผู้ป่วยโรคเรื้อนในเกือบทุกอำเภอ ในปี 2562 อำเภอตากใบ พบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ จำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.35 ต่อหมื่นประชากร
จากข้อมูล ปี 2562 ไม่พบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่เขตตำบลโฆษิต แต่มีผู้ป่วยที่กินยาไม่ครบอีก จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2.81 ต่อแสนประชากร จากข้อมูลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าโรคเรื้อนยังคงแพร่ระบาดและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของรพ.สต.บ้านโคกยาง ยังมีโอกาสแพร่ระบาดได้ในชุมชน โดยเฉพาะ ผู้สัมผัสใกล้ชิด ซึ่งหากไม่มีการดำเนินการใดๆ ที่จะป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ก็จะมีโอกาสทำให้มีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น การกระจายของโรคจะกว้างขึ้น และหากผู้ป่วยหรือผู้มีเชื้อในกระแสโลหิต ไม่ได้รับการรักษา ก็จะส่งผลให้เกิดความพิการทางร่างกาย ดังนั้น ปัญหาโรคเรื้อนจึงมีความจำเป็นที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการตรวจคักรองค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ประจำปี 2563 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนและองค์กรในชุมชน เป็นเครือข่าย และมีความรู้ ความเข้าใจสามารถค้นหา และคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ได้
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อนทุกระยะ ได้รับการรักษาต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  2. รณรงค์ตรวจค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนและองค์กรในชุมชน เป็นเครือข่ายในการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อยรายใหม่ มีความรู้และความเข้าใจและมีเจตคติที่ดีต่อโรคเรื้อน สามารถถ่ายทอดความรู้และมีทักษะในการคัดกรองเบื้องต้นได้ ตลอดจนมีความตระหนักและให้ความร่วมมือในการค้นหาผู้ป่วย ติดตามการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 5 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงผู้รับผิดชอบ ผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดหาวิทยากร, สถานที่ และอื่นๆ
  3. กำหนดพื้นที่จัดประชุม, แจ้งผู้เข้าร่วมประชุม
  4. ดำเนินการประชุม
  5. จัดทำป้ายเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการ
  6. ประชาสัมพันธ์การรณรงค์ค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในหมู่บ้านและชุมชน
    • จัดนิทรรศการในสถานบริการและชุมชน แจกเอกสารและสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
    • เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น หอกระจายข่าว มัสยิด เสียงตามสาย ผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน
  7. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อนให้แก่นักเรียนและประชาชนทั่วไป
  8. ให้บริการตรวจผู้ป่วยโรคผิวหนังเพื่อค้นหาโรคเรื้อน
  9. ให้บริการบำบัด/รักษาผู้ป่วยโรคเรื้อน โดยจัดตั้งคลินิกให้บริการ ณ โรงพยาบาลตากใบ
  10. ให้บริการตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านทุกราย
  11. ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในหมู่บ้าน/ชุมชนและโรงเรียน
  12. ติดตามและดูแลผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนทุกรายและผู้ป่วยโรคเรื้อนที่มีความพิการ
  13. ให้บริการตรวจร่างกายผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนเฝ้าระวัง
  14. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนและองค์กรในชุมชน เป็นเครือข่ายในการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อยรายใหม่ มีความรู้และความเข้าใจและมีเจตคติที่ดีต่อโรคเรื้อน สามารถถ่ายทอดความรู้และมีทักษะในการคัดกรองเบื้องต้นได้ ตลอดจนมีความตระหนักและให้ความร่วมมือในการค้นหาผู้ป่วย ติดตามการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย

 

0 0

2. รณรงค์ตรวจค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่

วันที่ 5 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงผู้รับผิดชอบ ผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดหาวิทยากร, สถานที่ และอื่นๆ
  3. กำหนดพื้นที่จัดประชุม, แจ้งผู้เข้าร่วมประชุม
  4. ดำเนินการประชุม
  5. จัดทำป้ายเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการ
  6. ประชาสัมพันธ์การรณรงค์ค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในหมู่บ้านและชุมชน
    • จัดนิทรรศการในสถานบริการและชุมชน แจกเอกสารและสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
    • เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น หอกระจายข่าว มัสยิด เสียงตามสาย ผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน
  7. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อนให้แก่นักเรียนและประชาชนทั่วไป
  8. ให้บริการตรวจผู้ป่วยโรคผิวหนังเพื่อค้นหาโรคเรื้อน
  9. ให้บริการบำบัด/รักษาผู้ป่วยโรคเรื้อน โดยจัดตั้งคลินิกให้บริการ ณ โรงพยาบาลตากใบ
  10. ให้บริการตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านทุกราย
  11. ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในหมู่บ้าน/ชุมชนและโรงเรียน
  12. ติดตามและดูแลผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนทุกรายและผู้ป่วยโรคเรื้อนที่มีความพิการ
  13. ให้บริการตรวจร่างกายผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนเฝ้าระวัง
  14. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนและองค์กรในชุมชน เป็นเครือข่ายในการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อยรายใหม่ มีความรู้และความเข้าใจและมีเจตคติที่ดีต่อโรคเรื้อน สามารถถ่ายทอดความรู้และมีทักษะในการคัดกรองเบื้องต้นได้ ตลอดจนมีความตระหนักและให้ความร่วมมือในการค้นหาผู้ป่วย ติดตามการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนและองค์กรในชุมชน เป็นเครือข่าย และมีความรู้ ความเข้าใจสามารถค้นหา และคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ได้
ตัวชี้วัด : ประชาชน ในพื้นที่ได้รับการคัดกรองโรคเรื้อนทุกราย
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อนทุกระยะ ได้รับการรักษาต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อนทุกระยะ ได้รับการรักษาต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนและองค์กรในชุมชน เป็นเครือข่าย และมีความรู้ ความเข้าใจสามารถค้นหา และคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อนทุกระยะ ได้รับการรักษาต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการ (2) รณรงค์ตรวจค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ประจำปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L4282-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาวรรณ ศรีสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด