กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง


“ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง ”

ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาพร ชูเพชร

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง

ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5205-3-xx เลขที่ข้อตกลง 8/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5205-3-xx ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต บุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วมในการอบรมเลี้ยงดูให้เด็กเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไป หากเด็กในวัยนี่ได้รับความรักความอบอุ่นและการอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสมกับวัย มีการส่งเสริมพัฒนาการและสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวัยรวมถึงอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ บุคคลรอบข้างให้ดูแลเอาใจใส่ สร้างความมั่นคง ปลอดภัยแก่เด็ก ย่อมส่งผลให้เด็กวัยนี้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิต ใจ สังคม และสติปัญญา พร้อมที่จะเจริญเติบโตเป็นประชากรที่มีศักยภาพในการพัฒนาประเทศชาติให้ก้าวหน้าต่อไป     อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการถือเป็นปัจจัยหลักต่อการเจริญเติบโตและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย แต่ปัญหาโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี่ คือ ภาวะการเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามวัย โรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน ขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางเกิดจาการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงดูด้วยนมแม่ลดลง การให้เด็กรับประทานอาหารตามวัยเร็วเกินไป ซึ่งมีผลต่อพัฒนาการของเด็กในวัยนี้ ในความเป็นจริงเด็กวัยนี้ต้องมีความพร้อมในการพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน แต่จากแบบประเมินผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กปฐมวัยในปีการศึกษา ๒๕๖๒ จำนวนนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง ทั้งหมด ๑๕๔ คน พบว่า มีนักเรียนที่น้ำหนักส่วนสูง จำนวน ๑๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ๘๓ มีนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑ มีนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗และในอนาคตปัญหาจะเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ
    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าครบถ้วนและเป็นไปตามวัย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง ขึ้น เพื่อให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบห้าหมู่ในปริมาณที่เหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีสมาธิพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆสู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล คลองหรังที่มีความเสี่ยงและภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
  2. เพื่อให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล คลองหรังมีพัฒนาการด้านร่างกายและสมองเจริญเติบโต มีโภชนาการสมวัย
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรังมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการสำหรับเด็กเล็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 16
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนที่มีความเสี่ยงและมีภาวะโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
  2. นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายและสมองเจริญเติบโต มีโภชนาการสมวัย
  3. ผู้ปครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการสำหรับเด็กเล็ก 0-5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล คลองหรังที่มีความเสี่ยงและภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง จำนวน16 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการ
100.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล คลองหรังมีพัฒนาการด้านร่างกายและสมองเจริญเติบโต มีโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง จำนวน16 คน มีน้ำหนัก ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
100.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรังมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการสำหรับเด็กเล็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง จำนวน 16 คน มีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก 0-5 ปี
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 16
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 16
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล  คลองหรังที่มีความเสี่ยงและภาวะทุพโภชนาการ            ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ (2) เพื่อให้นักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล    คลองหรังมีพัฒนาการด้านร่างกายและสมองเจริญเติบโต  มีโภชนาการสมวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรังมีความรู้  ความเข้าใจด้านโภชนาการสำหรับเด็กเล็ก  0-5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5205-3-xx

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาพร ชูเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด