กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี 2563 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี 2563 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ”

อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางกาญจนา เอกพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี 2563 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L7487-1-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี 2563 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี 2563 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี 2563 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L7487-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคเรื้อรังที่มีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้นในอนาคต และกลุ่มที่มีอาการของโรคเบาหวานแล้วไม่สามารถควบคุมได้ จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่นความผิดปกติของระบบประสาทส่วนปลาย จอประสาทตาเสื่อม โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคไต รวมถึงแผลบริเวณเท้าที่มักเกิดขึ้นในผู้ป่วยเบาหวานซึ่งยากต่อการดูแลรักษา ส่งผลให้กลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตลดลงและกระทบต่อสถานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวตามมาและส่งผลถึงภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและจากข้อมูลการสำรวจพบว่าความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากร 15 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นจากร้อยละ21.4ในปี2552เป็นร้อยละ24.7 ในปี 2557พฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญที่สนับสนุนให้ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น คือการกินเค็ม(เกลือ/โซเดียม) ซึ่งพบว่าคนไทยบริโภคเกลือเฉลี่ย10.8 กรัมต่อวัน(โซเดียม 5,000มิลลิกรัม)ซึ่งสูงกว่าความต้องการร่างกายควรได้รับถึง1เท่าคือควรบริโภคเกลือไม่เกิน5กรัมต่อวัน(โซเดียม 2,400มิลลิกรัม) เมื่อพิจารณาข้อมูลสถิติของโรงพยาบาลตากใบพบว่า ในเขตพื้นที่ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาสในปี2562มีผู้ที่เป็นเบาหวาน ขึ้นทะเบียนรับการรักษา 866ราย จากการดูแลผู้ป่วยซึ่งจัดกลุ่มตามระดับความรุนแรงของโรค พบผู้ป่วยคุมได้ดี(ระดับน้ำตาลสะสมในเลือดเฉลี่ย≤7 mg/dl) จำนวน 289คนคิดเป็นร้อยละ 33.37มีผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ขึ้นทะเบียนรับการรักษา 2,063 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 397 คน คิดเป็นร้อยละ 24.29มีภาวะแทรกซ้อน(โรคหัวใจหลอดเลือดสมองไตตาเท้า) 136คนร้อยละ 27.69 และจากการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลตากใบ ระหว่างเดือนตุลาคม 2561– มีนาคม 2562จำนวน 10,051 คน พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องการไม่ออกกำลังกาย/ออกกำลังกายน้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 41.08 รองลงมาคือชอบรับประทานอาหารเค็ม ชอบทานอาหารหวาน ชอบทานอาหารมัน มีพฤติกรรมสูบบุหรี่ และพฤติกรรมดื่มสุรา คิดเป็นร้อยละ 23.85, 19.42, 12.32, 2.63 และ0.71 ตามลำดับ และประชาชนยังไม่ตระหนักในการมาพบแพทย์ตามนัด อัตราผู้ป่วยขาดนัดมีแนวโน้มสูงขึ้น จากการทบทวนผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการพบว่าส่วนใหญ่ขาดนัด ขาดยา ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตไม่ได้ ทำให้เกิดเป็นโรคแทรกซ้อนและอันตรายถึงชีวิต จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น ทีมดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรงพยาบาลตากใบได้เล็งเห็นความสำคัญในการสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ให้มีความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเองให้เหมาะสมกับโรค และมีการติดตามผู้ป่วยขาดยา ขาดนัดให้เข้าถึงการรักษาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี ๒๕63 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองรวมทั้งสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตระหนักถึงภาวะเจ็บป่วยและอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน 3.เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลตนเองและสร้างเครือข่ายทางสังคมแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และเพื่อพัฒนาแกนนำขยายกลุ่มลงสู่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองรวมทั้งสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตระหนักถึงภาวะเจ็บป่วยและอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน 3.เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองรวมทั้งสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตระหนักถึงภาวะเจ็บป่วยและอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน 3.เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลตนเองและสร้างเครือข่ายทางสังคมแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และเพื่อพัฒนาแกนนำขยายกลุ่มลงสู่ชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองรวมทั้งสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตระหนักถึงภาวะเจ็บป่วยและอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน 3.เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลตนเองและสร้างเครือข่ายทางสังคมแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และเพื่อพัฒนาแกนนำขยายกลุ่มลงสู่ชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมอาการไม่ได้ ปี 2563 เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 63-L7487-1-19

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกาญจนา เอกพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด