กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการศูนย์เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านควนดินแดง




ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3317-02-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3317-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 11 ได้มุ่งเน้นระบบสุขภาพแบบพอเพียงส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การบำบัดรักษาความเจ็บป่วยด้วยการแพทย์แผนไทยซึ่งการแพทย์แผนไทยเป็นกรรมวิธีทางภูมิปัญญาที่อิงความเป็นธรรมชาติ และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทยอีกทั้งยังเป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านสุขภาพที่ประชาชนสามารถดูแลป้องกันตัวเองได้ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการรักษาพยาบาลการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการเฝ้าระวังโรคในการบำบัดรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยได้ใช้วิธีการอย่างหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลการรักษาทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น การใช้ธรรมชาติบำบัดการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  การรับประทาน การดื่มน้ำ การออกกำลังกาย การทำกิจกรรมการลดน้ำหนัก เป็นต้น เพื่อลดรงกระทำที่ข้อเข่า ให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วยและเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้สูงอายุ รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้     ทุกชุมชนต่างมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ทั้งประเพณี วัฒนธรรม และวิถีการดำเนินชีวิต สืบทอดโดยคน รุ่นก่อนในชุมชน มีการสั่งสมภูมิปัญญาด้านต่างๆ และผ่านการพัฒนาใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต เช่น การรับประทานอาหาร การดูแลรักษาสุขภาพและการบำบัดโรค ซึ่งผ่านการลองผิดลองถูกจนเกิดเป็นปัญญาในการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกัน โรคของชุมชน ตัวอย่างเช่น การรับประทานผักเพื่อบำรุงร่างกาย การรักษาโรคด้วยสุมนไพร การนวดไทยเพื่อบำบัด บรรเทาการเจ็บป่วย การประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอก เป็นต้น  ภูมิปัญญาไทยจึงมีความสำคัญต่อสุขภาพในเรื่องของการบำบัด บรรเทา รักษาป้องกันโรคและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน ให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ประกอบกับพื้นที่หมู่ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนดินแดง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง มีหมอพื้นบ้านด้านสมุนไพร 1 คน หมอพื้นบ้านด้านการนวด 2 คน หมอตําแย 1 คน ประชาชนในพื้นที่มีการปลูกสมุนไพร อย่างน้อย 5 ชนิด จำนวน 72 หลังคาเรือน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนดินแดง จึงจัดทำโครงการศูนย์เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทยตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์แผนไทย และมุ่งพัฒนางานแพทย์แผนไทยให้ครบวงจร ตามแผนการขับเคลื่อน Service plan สาขาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ผสมผสาน ให้มีคลินิกบริการแบบครบวงจรที่ให้บริการทั้ง 4 มิติ คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค การฟื้นฟูสภาพ มีการตรวจรักษาทางเวชกรรม มีการใช้ยาสมุนไพร การนวด การอบสมุนไพร การประคบสมุนไพร และเพื่อเป็นการรักษาส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูแลสุขภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในชุมชน รู้จักประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการรักษาดูแลสุขภาพ รวมถึงการพึ่งพาภูมิปัญญาของแพทย์ที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. . เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรและมีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์
  3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้เรื่องสวนสมุนไพรสาธิตจำนวน 1 แห่ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. . จัดทำสวนสมุนไพร ณ รพ.สต.บ้านควนดินแดง ตำบลดอนทราย เพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ในการรักษาโรค ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคจากสมุนไพร
  2. จัดกิจกรรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการ ฝึกทำการยาสมุนไพร ไว้ใช้บำบัดโรคเบื้องต้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย     2. ประชาชนมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรและมีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์     3. ประชาชนมีแหล่งเรียนรู้เรื่องสวนสมุนไพรสาธิตจำนวน 1 แห่ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทยก่อนและหลังเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 70 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรและมีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์ก่อนและหลังเพิ่มมากกว่าร้อยละ 70 2.มีแหล่งเรียนรู้เรื่องสวนสมุนไพรสาธิตอย่างน้อย 1 แห่ง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 . เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทยก่อนและหลังเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 20
1.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรและมีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรและมีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์ก่อนและหลังเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 20
1.00

 

3 เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้เรื่องสวนสมุนไพรสาธิตจำนวน 1 แห่ง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้เรื่องสวนสมุนไพรสาธิตจำนวน 1 แห่ง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรและมีความรู้ในการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์ (3) เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้เรื่องสวนสมุนไพรสาธิตจำนวน 1 แห่ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) . จัดทำสวนสมุนไพร ณ รพ.สต.บ้านควนดินแดง ตำบลดอนทราย เพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ในการรักษาโรค ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคจากสมุนไพร (2) จัดกิจกรรมให้ความรู้  เชิงปฏิบัติการ ฝึกทำการยาสมุนไพร ไว้ใช้บำบัดโรคเบื้องต้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3317-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านควนดินแดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด