กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพฟันดีในชุมชนเปาะเส้ง ”

ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสายใจ สังห์รัตน์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพฟันดีในชุมชนเปาะเส้ง

ที่อยู่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพฟันดีในชุมชนเปาะเส้ง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพฟันดีในชุมชนเปาะเส้ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพฟันดีในชุมชนเปาะเส้ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,870.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานทันตสาธารณสุข ที่ได้ดำเนินงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส่วนใหญ่แล้วมักจะเป็นงานด้านรักษาทางทันตกรรมในผู้ป่วยทั่วไป  อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่ชาวบ้านรู้จักกันดีนั้นนับว่าเป็นองค์กรที่มีความสำคัญในการดำเนินงานในชุมชน ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันงานสาธารณสุขพื้นฐานต่างๆไม่ว่าจะเป็นการดูแลควบคุมลูกน้ำยุงลายในชุมชน การชั่งน้ำหนักประเมินภาวะโภชนาการเด็ก 0-6 ปี การดูแลติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ การติดตามเยี่ยมดูแลหญิงหลังคลอด ตลอดจนผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสในชุมชน ล้วนแล้วแต่เป็นงานที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ต้องดำเนินการทั้งสิ้น จะขาดแต่งานด้านทันตสาธารณสุขเท่านั้นที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีส่วนร่วมน้อยมากจากแนวความคิด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเนียง จึงจัดทำโครง...เพื่อต้องการที่จะบูรณาการงานด้านทันตสาธารณสุขเข้าเป็นหนึ่งในภารกิจอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้องทำ โดยการพัฒนาศักยภาพให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้ด้านทันตสาธารณสุข เพื่อที่จะสามารถให้คำแนะนำ และตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นให้กับประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเองได้ พร้อมทั้งมีระบบรายงานให้สถานบริการทราบอย่างต่อเนื่องทุกเดือนเช่นเดียวกับรายงานอื่นๆของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และการเป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุขในการออกปฏิบัติงานในชุมชนไม่ว่าจะเป็นการออกตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ การตรวจสุขภาพช่องปากผู้ป่วยเบาหวาน การเยี่ยมบ้าน เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจในการให้บริการด้านทันตกรรมทั้งเชิงรุก และเชิงรับ ตลอดจนเกิดเครือข่ายในการดูแลสุขภาพช่องปากประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้นำนักเรียน มีศักยภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน 2.ผู้นำนักเรียน มีศักยภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในในโรงเรียน 3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านผู้นำนักเรียน มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีด้วยตนเอง 3.ผู้นำนักเรียน มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีด้วยตนเอง 4.เกิดการให้ความร่วมมือในการค้นหา และแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากในชุมชนระหว่างสถานบริการ และเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเกิดชมรมรักษ์ฟัน 5.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้นำนักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพช่องปาก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพฟันดีในชุมชนเปาะเส้ง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสายใจ สังห์รัตน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด