กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย สร้างความร่วมใจของชุมชน ”
ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายพนม วงศ์เทพบุตร




ชื่อโครงการ โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย สร้างความร่วมใจของชุมชน

ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1464-1-04 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย สร้างความร่วมใจของชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย สร้างความร่วมใจของชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย สร้างความร่วมใจของชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1464-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน ในการนี้ รพสต.ควนธานีเล็งเห็นว่า การพัฒนาร้านขายของชำในหมู่บ้านจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลงไปได้ จึงได้จัดทำโครงการร้านชำคุณภาพผู้บริโภคปลอดภัย เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้และมีทักษะในการซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปนอยู่ มีการสำรวจเฝ้าระวังเพื่่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภค ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องร้านขายของชำได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภคและอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง
  2. เพื่อให้ผู้ประกอบการ้านชำสามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน
  3. เพื่อพัฒนาร้านชำให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัย ไม่มีสารอันตราย มีภูมิคุ้มกัน มีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำในพื้นที่ ส่งผลให้ผู้บริโภคในพื้นที่ได้ใช้สินค้าอุปโภคและบริโภคที่มีคุณภาพมาตรฐานและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 2 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้ 1.1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค เรื่องอาหารยา และเครื่องสำอาง 2.ตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง พบว่าก่อนดำเนินโครงการผู้เข้าร่วมมีความรู้คะแนนเฉลี่ย 11 8คะแนน (คะแนนต่ำสุด4 คะแนน , คะแนนสูงสุด 18 คะแนน ) ร้อยละ 55 และหลังจากดำเนินโครงการมีคะแนนเฉลี่ย 17 คะแนน (คะแนนต่ำสุด 14 คะแนนสูงสุด 20 คะแนน ร้อยละ 85) 1.2 ผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัยไม่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร้อยละ 80 พบว่ายังมีสินค้าที่ไม่สามารถจัดจำหน่ายได้ หรือไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่เป็นยา ซึ่งไม่ผ่านมาตรฐาน 19 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 63.33 ซึ่งส่วนใหญ่ จำหน่ายยาประเภทยาอันตรายซึ่งห้ามจำหน่ายในร้านขายของชำ รองลงมาเป็นอาหารไม่ผ่านมาตรฐาน 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ซึ่งพบว่ามีอาหารที่ไม่มีฉลากและ มีอาหารที่หมดอายุวางจำหน่าย และปัญหาสุดท้ายเป้นการจัดสถานที่ ชั้นวางสิง่ของประเภทต่างๆที่ไม่เหมาะสม เช่นการวางอาหารไว้ใกล้วัตถุอันตราย จำนวน 6 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 20 1.3 ร้านชำที่พัฒนาผ่านเกณฑ์คุณภาพทั้ง 4 เรื่อง มีทั้งหมด 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.30 ไม่ผ่านเกณฑ์ 23 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 76.66

 

50 0

2. ตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน

วันที่ 2 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้ 1.1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค เรื่องอาหารยา และเครื่องสำอาง 2.ตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง พบว่าก่อนดำเนินโครงการผู้เข้าร่วมมีความรู้คะแนนเฉลี่ย 11 8คะแนน (คะแนนต่ำสุด4 คะแนน , คะแนนสูงสุด 18 คะแนน ) ร้อยละ 55 และหลังจากดำเนินโครงการมีคะแนนเฉลี่ย 17 คะแนน (คะแนนต่ำสุด 14 คะแนนสูงสุด 20 คะแนน ร้อยละ 85) 1.2 ผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัยไม่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร้อยละ 80 พบว่ายังมีสินค้าที่ไม่สามารถจัดจำหน่ายได้ หรือไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่เป็นยา ซึ่งไม่ผ่านมาตรฐาน 19 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 63.33 ซึ่งส่วนใหญ่ จำหน่ายยาประเภทยาอันตรายซึ่งห้ามจำหน่ายในร้านขายของชำ รองลงมาเป็นอาหารไม่ผ่านมาตรฐาน 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ซึ่งพบว่ามีอาหารที่ไม่มีฉลากและ มีอาหารที่หมดอายุวางจำหน่าย และปัญหาสุดท้ายเป้นการจัดสถานที่ ชั้นวางสิง่ของประเภทต่างๆที่ไม่เหมาะสม เช่นการวางอาหารไว้ใกล้วัตถุอันตราย จำนวน 6 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 20 1.3 ร้านชำที่พัฒนาผ่านเกณฑ์คุณภาพทั้ง 4 เรื่อง มีทั้งหมด 7 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 23.30 ไม่ผ่านเกณฑ์ 23 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 76.66

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เพราะยังมีร้านชำที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กำหนดไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภคและอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยาและเครื่องสำอาง
80.00 85.00

 

2 เพื่อให้ผู้ประกอบการ้านชำสามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานที่ถูกต้อง ใช้สินค้าที่มีความปลอดภัย และไม่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
80.00 42.85

 

3 เพื่อพัฒนาร้านชำให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้านชำพัฒนาเกณฑ์คุณภาพ
60.00 23.30

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภคและอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการ้านชำสามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน (3) เพื่อพัฒนาร้านชำให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย สร้างความร่วมใจของชุมชน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1464-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพนม วงศ์เทพบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด