กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเยาวชน TO BE NUMBER ONE ใส่ใจลดโลกร้อน ”
ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวพัชราภรณ์ เจริญดี




ชื่อโครงการ โครงการเยาวชน TO BE NUMBER ONE ใส่ใจลดโลกร้อน

ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1464-2-08 เลขที่ข้อตกลง 17/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชน TO BE NUMBER ONE ใส่ใจลดโลกร้อน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชน TO BE NUMBER ONE ใส่ใจลดโลกร้อน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชน TO BE NUMBER ONE ใส่ใจลดโลกร้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1464-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ปัญหาขยะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญประการหนึ่งของชุมชนทุกประเทศทั่วโลกเพราะมีส่วนสัมพันธ์กับความหนาแน่นของประชากร การประกอบอาชีพและสภาพเศรษฐกิจ สังคมนั้นๆ จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน ส่งผลให้มีการผลิตสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ในรูปแบบต่างๆมากมาย เพื่อตอบสนองความต้องกการของผู้บริโภคมากขึ้น และบรรจุภัณฑ์ส่วนใหญ่มีการผลิตที่ซับซ้อน ใช้องค์ประกอบท่ีกำจัดยาก อีกทั้งประชาชนไม่เห็นความสำคัญในการคัดแยกขยะและของเสีย จึงส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ เช่น เกิดมลพิษทางดิน ทางน้ำ ทางอากาศ และปัญหาสาธารณสุข ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่งการไม่แยกประเภทของขยะนั้นเป็นสาเหตุซึ่งทำให้เกิดภาวะโลกร้อน คือ เมื่อขยะหลายๆประเภทถูกทิ้งรวมกันโดยไม่ได้แยกประเภท เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะที่สามารถนำมารีไซเคิล และขยะที่เป็นพิษ สารเคมีต่างๆจากขยะที่เป็นพิษจะไหลลงสู่พื้นดิน ถ้าขยะที่ไม่ได้แยกประเภทถูกนำไปเผารวมกันก็จะก่อให้เกิดแก๊สพิษ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม จากเหตุผลดังกล่าวทำให้คณะผู้จัดทำได้จัดทำโครงการ จึงหันมามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคมเพื่อให้เยาวชนได้เกิดแนวความคิดในการรณรงค์เกี่ยวกับประโยชน์ของการแยกประเภทของขยะ รวมทั้งได้จัดทำถังขยะซึ่งทำให้ง่ายต่อการแยกประเภทและเพื่อศึกษาความพึงพอใจในการดำเนินงานโครงการอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.นักศึกษาและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทิ้งขยะ
  2. 2.กระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักเรื่องการคัดแยกขยะ
  3. 3.คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน และจัดการโดยชุมชนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมความรู้ให้แก่นักศึกษาและเยาวชนในการจัดการแยกและกำจัดขยะที่ถูกวิธี ปฏิบัติได้ถูกต้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนมีความรู้ในการจัดการแยกและกำจัดขยะที่ถูกวิธี ปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมความรู้ให้แก่นักศึกษาและเยาวชนในการจัดการแยกและกำจัดขยะที่ถูกวิธี ปฏิบัติได้ถูกต้อง

วันที่ 6 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการขยะ ตามหลัก 3Rs

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เยาวชนและประชาชน มีความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น 2.เยาวชนและประชาชน มีความภาคภูมิใจในตนเองในการกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักในเรื่องการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 3.ประชาชนในชุมชนทีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและจัดการขยะโดยชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เยาวชนและประชาชน มีความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น 2.เยาวชนและประชาชน มีความภาคภูมิใจในตนเองในการกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักในเรื่องการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 3.ประชาชนในชุมชนทีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและจัดการขยะโดยชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.นักศึกษาและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทิ้งขยะ
ตัวชี้วัด : ภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง เกิดกระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน
0.00

 

2 2.กระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักเรื่องการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : ภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง เกิดกระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน
0.00

 

3 3.คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน และจัดการโดยชุมชนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : ภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง เกิดกระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 20
กลุ่มวัยทำงาน 0 7
กลุ่มผู้สูงอายุ 0 3
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.นักศึกษาและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทิ้งขยะ (2) 2.กระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักเรื่องการคัดแยกขยะ (3) 3.คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ  การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน และจัดการโดยชุมชนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมความรู้ให้แก่นักศึกษาและเยาวชนในการจัดการแยกและกำจัดขยะที่ถูกวิธี ปฏิบัติได้ถูกต้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชน TO BE NUMBER ONE ใส่ใจลดโลกร้อน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1464-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพัชราภรณ์ เจริญดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด