กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี


“ โครงการบ้านหาดทรายร่วมใจคืนคลองน้ำใส สู่การจัดการ ขยะอย่างยั่งยืน ”

ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
1.นายมะสาและ ยูโซ๊ะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 2 นายนาซูสี หะยีกาจิผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3.นายลาซี มามุ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4.นางแวตีเยาะ สารีกามา ประธานกลุ่มสตรี 5นายอาแด่ ลูโบะยาเซ็งกลุ่มสภาเด็กและ เยาวชน

ชื่อโครงการ โครงการบ้านหาดทรายร่วมใจคืนคลองน้ำใส สู่การจัดการ ขยะอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-l5257-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านหาดทรายร่วมใจคืนคลองน้ำใส สู่การจัดการ ขยะอย่างยั่งยืน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านหาดทรายร่วมใจคืนคลองน้ำใส สู่การจัดการ ขยะอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านหาดทรายร่วมใจคืนคลองน้ำใส สู่การจัดการ ขยะอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-l5257-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 143,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนบ้านหาดทรายหมู่ที่ 6 บ้านหาดทราย ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ ตั้งอยู่ที่สูงเหนือระดับน้ำทะเล 400 เมตร และเป็นหมู่บ้านต้นน้ำของแม่น้ำเทพา เป็นชุมชนชนบท มีจำนวน 260 ครัวเรือน มีประชากร จำนวน 1,100 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกๆปี ทำให้การใช้ปริมาณทรัพยากรเพิ่มขึ้น ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาขยะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนสาเหตุจากคนในชุมชนยังขาดการความรู้มีพฤติกรรมทิ้งขยะไม่เป็นที่เมื่อฝนตกน้ำได้พัดเอาขยะลงไปในแหล่งน้ำ ทำให้เกิดน้ำเสีย และไม่มีความสวยงามบริเวณแหล่งน้ำตกของชุมชน ตลอดจนชุมชนไม่มีระบบการบริหารการจัดการขยะที่ถูกต้องทั้งในครัวเรือนและชุมชนทำให้มีปริมาณขยะในชุมชนเพิ่มขึ้นจำนวนมากตลอดจนขยะที่ทับถมกองอยู่ในพื้นที่ชุมชนยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค เช่น ยุง แมลงวัน แมลงหวี่ ฯลฯจากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวทำให้แกนนำชุมชนเกิดแนวคิดให้การดำเนินโครงการฯ เพื่อนำไปสู่แนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยการเปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ประกอบด้วย 1) กลุ่มแกนนำชุมชนที่เป็นทางการกลุ่มผู้นำธรรมชาติจำนวน 36คน 2) กลุ่มเด็ก เยาวชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ จำนวน.43 คน3) กลุ่มประชาชนทั่วไป จำนวน 100 คน4) เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหาดทราย3 คนทั้งนี้ความคาดหวังของการดำเนินโครงการฯนำไปสูความสำเร็จในการลดปัญหาขยะ และให้เด็กเยาวชนได้พัฒนาศักยภาพตนเองนำไปสู่การลดพฤติกรรมเสี่ยง และสามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ มีความเข้าใจในการจัดการขยะอย่าถูกต้อง
  2. 2.เพื่อให้สภาพแวดล้อมในชุมชนมีความสะอาด
  3. 3.เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยง และแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 260
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ปริมาณขยะลดลง 2.สภาผู้นำมีความเข้มแข็ง สามารถขับเคลื่อนโครงการฯได้ 3.เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาศักยภาพสามารถลดพฤติกรรมเสี่ยง รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และชุมชน 4.เกิดการมีส่วนร่วม ความสามัคคีของคนในชุมชน 5.ชุมชนมีความสะอาดเป็นระเบียบลดแหล่งเพาะพันธ์สัตว์นำโรค เช่น ยุง แมลงวัน แมลงหวี่ ฯนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของคนในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ มีความเข้าใจในการจัดการขยะอย่าถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1 ร้อยละ 70 คนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งในระดับครัวเรือนและชุมชน 2 ร้อยละ 70 คนมีส่วนร่วม มีความตระหนักในการจัดการขยะได้อย่างถูกต้อง

     

    2 2.เพื่อให้สภาพแวดล้อมในชุมชนมีความสะอาด
    ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะลดลง 2.ชุมชนมีความสะอาด 3.พื้นที่แม่น้ำ ลำคลองมีความสมบรูณ์
    0.00

     

    3 3.เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยง และแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80เยาวชนสามารถลดพฤติกรรมเสี่ยง เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของของชุมชน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 260
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 260
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ มีความเข้าใจในการจัดการขยะอย่าถูกต้อง (2) 2.เพื่อให้สภาพแวดล้อมในชุมชนมีความสะอาด (3) 3.เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยง และแก้ไขปัญหายาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบ้านหาดทรายร่วมใจคืนคลองน้ำใส สู่การจัดการ ขยะอย่างยั่งยืน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-l5257-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( 1.นายมะสาและ ยูโซ๊ะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 2 นายนาซูสี หะยีกาจิผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3.นายลาซี มามุ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4.นางแวตีเยาะ สารีกามา ประธานกลุ่มสตรี 5นายอาแด่ ลูโบะยาเซ็งกลุ่มสภาเด็กและ เยาวชน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด