โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุกัญดา เหมืองทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health)
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-01-28 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-01-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากความเปลี่ยนแปลงทางด้นสังคม เศรษฐกิจและพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน พบว่า ปัจจุบัน
ประชาชนส่วนใหญ่นิยมบริโกคอหารจาแหล่งจำหน่ายอหารนอกบ้านมากว่าการประอบอาหารและปรุงเองที่บ้าน
เนื่องจากต้องการความสะดวก รวดเร็ว อาหารริมทางหรืออหารริมบาทวิถีจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ประชาชนนิยม
บริโภค การจำหนำยอหารบนบกวิถีบางจุดเป็นสถานที่ที่มีคว้รถฝุ่นละอองจากถนน การเดรียม การปรุงและประกอบ
อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่มีที่กำบังเพียงพ่อทำให้อาหารในร้นเสี่ยงต่อการปนเปื้อนฝุ่นหรือควันจากท่อไอเสียรถยนต์
ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งในการก่อให้เกิดโรค เกิดกรเจ็บป่วย เกิดการสะสมสารพิษ และเกิดอันตรายต่างๆต่อร่างกาย
ทั้งในระยะสั้นและระยาว การยกระดับมาตรฐานอาหารริมบาทวิถีจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ต้องให้ความสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายกาพัฒนาสังคมของผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ ในการเร่งรัดพัฒนา
ตลาดสด หาบเร่ แผงลอยและสถานประกอบการค้นอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ทั้งด้านสถานที่และด้านสุขาภิบาลอาหาร
เพื่อให้ผู้อุปโภค บริโภค ได้อาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะอานมัยและปลอดภัยจากสารพิษ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ และแก้ไขเพิ่มเดิมถึง(ฉบับที่ ด๙)ผศ. ๒b๒ กำหนดหน้าที่ของเทศบาลนคร ตามมาตรา ๕๖(๔) การควบคุม
สุขลักษณะและอนามัยในร้านจำหน่ายอาหาร โรงมหรสพและสถานบริการอื่น ตลอดจนถึงส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ
ปรุงอาหารที่สะอาด ปลอดภัยเพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคและนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะอาหารริมบาทวิถีตามแหล่ง
ท่องเที่ยวสำคัญ ยังเป็นหนึ่งในเป้าหมายของนักท่องเที่ยวต่างชาติในการเดินทางมาบริโภค ซึ่งแต่ละพื้นที่มีวัฒนธรรม
ของอาหารที่แตกต่างกัน เมืองหาดใหญ่เป็นเมืองหนึ่งที่เป็นศูนย์กลางทางธุรกิจการค้าและการบริการที่สำคัญของภาคใต้
เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในหลากหลายด้านโดยเฉพาะชื่อเสียงด้นอาหารไทยและสถานประกอบการด้านอาหาร
ที่มีอยู่จำนวนมากในเมืองหาดใหญ่ ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยให้เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวและพำนัก
ในเมืองหาดใหญ่ ฉะนั้นความปลอดภัยของอหาร จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ภาครัฐจะต้องดูแลและให้ความสำคัญ
ในการตรวจสอบ แนะนำ ควบคุมและกำกับ ให้ผู้ประกอบการค้าอาหารมีการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เป็นไปตามมาตรฐาน
ที่กำหนด เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภคที่จะได้รับอาหารที่สะอาดและปลอดภัย
จุดจำหน่ายอาหารริมบาทวิถีที่นักท่องเที่ยวและประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ให้ความสนใจ ได้แก่
ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนสามชัย ถนนภาสว่าง ถนน ป.ณัฐพลและถนนเพชรเกษม เป็นตัน
เป็นถนนสายที่มีสถานประกอบการทั้งร้านจำหน่ายอาหารและแผนลอยจำหน่ายอหารริมบาทวิถีอยู่เป็นจำนวนมาก
และเป็นเส้นทางซึ่งในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยที่เข้ามาใช้บริการ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นต้องให้ความสำคัญในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร ยกระดับอาหารริมบาทวิถีให้ได้มาตรฐาน เพื่อเป็น
ต้นแบบพื้นที่ดำเนินการอาหารริมบาทวิถีสร้างเสริมสุขภาพ ที่นั้นส่งเสริมอาหารปลอดภัยและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
อาหารริมบาทวิถี ตลอดจนถึงอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร ซึ่งเป็นผู้ที่มี
บทบาทโดยตรง ในการเลือกวัตถุดิบที่สะอาดปลอดภัยและคุณค่ทางโภชนาการ มาปรุง-ประกอบอาหารให้ผู้บริโภค
ได้รับประทานและพัฒนาสถานประกอบการค้นอาหารของตนให้ได้มาตรฐานถูกสุขลักษณะ เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภค
อาหารที่สะอาดถูกสุขลักษณะอนามัยและปลอดภัยจากสารพิษ
สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยกลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม จึงขอเสนอโครงการพัฒนาสุขาภิบาล
อาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Steet Food Good Health) เพื่อดำเนินงานพัฒนาสุขาภิบาลอาหาร สร้างฟื้นที่ตันแบบ
และยกระดับมาตรฐานอาหารริมบาทวิถีให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขและพัฒนาศักยภาพ
ผู้ประอบการและผู้สัมผัสอาหารให้มีความเป็นมือาชีพ ช่วยให้ผู้บริโภคและนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการมั่นใจว่าจะได้
บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาสถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ให้ถูก สุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวง สาธารณสุขและเป็นตันแบบถนนสายอาหารริมบาทวิถี ปลอดภัย
- เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหารและประชาชนทั่วไป
- สถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ไม่ใช้ภาชนะโฟมบรรจุ อาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 250 คน
- ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการและรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมและพลาสติก ชนิดโพลิสไตรีน(Polystyrene)ในการบรรจุอาหาร
- ตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหาร ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียจากตัวอย่างอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ และ ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
- สรุปผลการดำเนินงานและมอบป้ายให้แก่แผงลอยและที่ผ่านเกณฑ์ฯตามข้อกำหนด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีต้นแบบอาหารริมบาทวิถีปลอดภัยในชุมชน
- มีสถานที่จำหน่ยอาหารที่ยกระดับได้มาตรฐานผ่านกณฑ์กรประมินของกระทรวงสรารณสุขเพิ่มขึ้น
- ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องสุชาภิบาลอาหาร
- มีการเผยแพร่ข้อมูลข่วสารด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหาร ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียจากตัวอย่างอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ และ ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
วันที่ 24 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม - 11 กันยายน 2563
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สถานที่เตรียมปรุงอาหารได้รับการพัฒนาให้ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริโภคมีความมั่นใจในการเลือกรับบริการ
0
0
2. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 250 คน
วันที่ 19 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
250
0
3. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการและรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมและพลาสติก ชนิดโพลิสไตรีน(Polystyrene)ในการบรรจุอาหาร
วันที่ 19 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
0
0
4. สรุปผลการดำเนินงานและมอบป้ายให้แก่แผงลอยและที่ผ่านเกณฑ์ฯตามข้อกำหนด
วันที่ 19 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ให้ผูบริโภคและผูุ้ผลิตได้รับความปลอดภัยกับสารปนเปลื้อนในอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อประชาชนให้ความความสนใจเรื่องของสารปนเปลื่อนในสารอาหาร
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาสถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ให้ถูก สุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวง สาธารณสุขและเป็นตันแบบถนนสายอาหารริมบาทวิถี ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : จำนวนสถานที่จำหน่ายอาหารริมบาทวิถีที่เข้าร่วม
โครงการผ่านการประเมินตามข้อกำหนดมาตรฐาน
กระทรวงสาธารณสุข อย่างน้อยร้อยละ ๘0
0.00
2
เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหารและประชาชนทั่วไป
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจ
และตระหนักในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร โดยมีผู้เข้าอบรม
และผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร อย่างน้อยร้อยละ
๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย
0.00
3
สถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ไม่ใช้ภาชนะโฟมบรรจุ อาหาร
ตัวชี้วัด : ทุกร้าน (๑๐๐%)ใช้ภาชนะทดแทนโฟมหรือภาชนะ
ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ให้ถูก สุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวง สาธารณสุขและเป็นตันแบบถนนสายอาหารริมบาทวิถี ปลอดภัย (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหารและประชาชนทั่วไป (3) สถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ไม่ใช้ภาชนะโฟมบรรจุ อาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 250 คน (2) ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการและรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมและพลาสติก ชนิดโพลิสไตรีน(Polystyrene)ในการบรรจุอาหาร (3) ตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหาร ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียจากตัวอย่างอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ และ ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร (4) สรุปผลการดำเนินงานและมอบป้ายให้แก่แผงลอยและที่ผ่านเกณฑ์ฯตามข้อกำหนด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-01-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุกัญดา เหมืองทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุกัญดา เหมืองทอง
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-01-28 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-01-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากความเปลี่ยนแปลงทางด้นสังคม เศรษฐกิจและพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน พบว่า ปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่นิยมบริโกคอหารจาแหล่งจำหน่ายอหารนอกบ้านมากว่าการประอบอาหารและปรุงเองที่บ้าน เนื่องจากต้องการความสะดวก รวดเร็ว อาหารริมทางหรืออหารริมบาทวิถีจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ประชาชนนิยม บริโภค การจำหนำยอหารบนบกวิถีบางจุดเป็นสถานที่ที่มีคว้รถฝุ่นละอองจากถนน การเดรียม การปรุงและประกอบ อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่มีที่กำบังเพียงพ่อทำให้อาหารในร้นเสี่ยงต่อการปนเปื้อนฝุ่นหรือควันจากท่อไอเสียรถยนต์ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งในการก่อให้เกิดโรค เกิดกรเจ็บป่วย เกิดการสะสมสารพิษ และเกิดอันตรายต่างๆต่อร่างกาย ทั้งในระยะสั้นและระยาว การยกระดับมาตรฐานอาหารริมบาทวิถีจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องให้ความสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายกาพัฒนาสังคมของผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ ในการเร่งรัดพัฒนา ตลาดสด หาบเร่ แผงลอยและสถานประกอบการค้นอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ทั้งด้านสถานที่และด้านสุขาภิบาลอาหาร เพื่อให้ผู้อุปโภค บริโภค ได้อาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะอานมัยและปลอดภัยจากสารพิษ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และแก้ไขเพิ่มเดิมถึง(ฉบับที่ ด๙)ผศ. ๒b๒ กำหนดหน้าที่ของเทศบาลนคร ตามมาตรา ๕๖(๔) การควบคุม สุขลักษณะและอนามัยในร้านจำหน่ายอาหาร โรงมหรสพและสถานบริการอื่น ตลอดจนถึงส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ ปรุงอาหารที่สะอาด ปลอดภัยเพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคและนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะอาหารริมบาทวิถีตามแหล่ง ท่องเที่ยวสำคัญ ยังเป็นหนึ่งในเป้าหมายของนักท่องเที่ยวต่างชาติในการเดินทางมาบริโภค ซึ่งแต่ละพื้นที่มีวัฒนธรรม ของอาหารที่แตกต่างกัน เมืองหาดใหญ่เป็นเมืองหนึ่งที่เป็นศูนย์กลางทางธุรกิจการค้าและการบริการที่สำคัญของภาคใต้ เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในหลากหลายด้านโดยเฉพาะชื่อเสียงด้นอาหารไทยและสถานประกอบการด้านอาหาร ที่มีอยู่จำนวนมากในเมืองหาดใหญ่ ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยให้เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวและพำนัก ในเมืองหาดใหญ่ ฉะนั้นความปลอดภัยของอหาร จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ภาครัฐจะต้องดูแลและให้ความสำคัญ ในการตรวจสอบ แนะนำ ควบคุมและกำกับ ให้ผู้ประกอบการค้าอาหารมีการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เป็นไปตามมาตรฐาน ที่กำหนด เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภคที่จะได้รับอาหารที่สะอาดและปลอดภัย จุดจำหน่ายอาหารริมบาทวิถีที่นักท่องเที่ยวและประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ให้ความสนใจ ได้แก่ ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนสามชัย ถนนภาสว่าง ถนน ป.ณัฐพลและถนนเพชรเกษม เป็นตัน เป็นถนนสายที่มีสถานประกอบการทั้งร้านจำหน่ายอาหารและแผนลอยจำหน่ายอหารริมบาทวิถีอยู่เป็นจำนวนมาก และเป็นเส้นทางซึ่งในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยที่เข้ามาใช้บริการ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นต้องให้ความสำคัญในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร ยกระดับอาหารริมบาทวิถีให้ได้มาตรฐาน เพื่อเป็น ต้นแบบพื้นที่ดำเนินการอาหารริมบาทวิถีสร้างเสริมสุขภาพ ที่นั้นส่งเสริมอาหารปลอดภัยและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน อาหารริมบาทวิถี ตลอดจนถึงอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร ซึ่งเป็นผู้ที่มี บทบาทโดยตรง ในการเลือกวัตถุดิบที่สะอาดปลอดภัยและคุณค่ทางโภชนาการ มาปรุง-ประกอบอาหารให้ผู้บริโภค ได้รับประทานและพัฒนาสถานประกอบการค้นอาหารของตนให้ได้มาตรฐานถูกสุขลักษณะ เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภค อาหารที่สะอาดถูกสุขลักษณะอนามัยและปลอดภัยจากสารพิษ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยกลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม จึงขอเสนอโครงการพัฒนาสุขาภิบาล อาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Steet Food Good Health) เพื่อดำเนินงานพัฒนาสุขาภิบาลอาหาร สร้างฟื้นที่ตันแบบ และยกระดับมาตรฐานอาหารริมบาทวิถีให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขและพัฒนาศักยภาพ ผู้ประอบการและผู้สัมผัสอาหารให้มีความเป็นมือาชีพ ช่วยให้ผู้บริโภคและนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการมั่นใจว่าจะได้ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาสถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ให้ถูก สุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวง สาธารณสุขและเป็นตันแบบถนนสายอาหารริมบาทวิถี ปลอดภัย
- เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหารและประชาชนทั่วไป
- สถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ไม่ใช้ภาชนะโฟมบรรจุ อาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 250 คน
- ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการและรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมและพลาสติก ชนิดโพลิสไตรีน(Polystyrene)ในการบรรจุอาหาร
- ตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหาร ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียจากตัวอย่างอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ และ ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
- สรุปผลการดำเนินงานและมอบป้ายให้แก่แผงลอยและที่ผ่านเกณฑ์ฯตามข้อกำหนด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีต้นแบบอาหารริมบาทวิถีปลอดภัยในชุมชน
- มีสถานที่จำหน่ยอาหารที่ยกระดับได้มาตรฐานผ่านกณฑ์กรประมินของกระทรวงสรารณสุขเพิ่มขึ้น
- ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องสุชาภิบาลอาหาร
- มีการเผยแพร่ข้อมูลข่วสารด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหาร ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียจากตัวอย่างอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ และ ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร |
||
วันที่ 24 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม - 11 กันยายน 2563 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสถานที่เตรียมปรุงอาหารได้รับการพัฒนาให้ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริโภคมีความมั่นใจในการเลือกรับบริการ
|
0 | 0 |
2. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 250 คน |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
250 | 0 |
3. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการและรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมและพลาสติก ชนิดโพลิสไตรีน(Polystyrene)ในการบรรจุอาหาร |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. สรุปผลการดำเนินงานและมอบป้ายให้แก่แผงลอยและที่ผ่านเกณฑ์ฯตามข้อกำหนด |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำให้ผูบริโภคและผูุ้ผลิตได้รับความปลอดภัยกับสารปนเปลื้อนในอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อประชาชนให้ความความสนใจเรื่องของสารปนเปลื่อนในสารอาหาร
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาสถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ให้ถูก สุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวง สาธารณสุขและเป็นตันแบบถนนสายอาหารริมบาทวิถี ปลอดภัย ตัวชี้วัด : จำนวนสถานที่จำหน่ายอาหารริมบาทวิถีที่เข้าร่วม โครงการผ่านการประเมินตามข้อกำหนดมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข อย่างน้อยร้อยละ ๘0 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหารและประชาชนทั่วไป ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร โดยมีผู้เข้าอบรม และผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย |
0.00 |
|
||
3 | สถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ไม่ใช้ภาชนะโฟมบรรจุ อาหาร ตัวชี้วัด : ทุกร้าน (๑๐๐%)ใช้ภาชนะทดแทนโฟมหรือภาชนะ ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ให้ถูก สุขลักษณะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของกระทรวง สาธารณสุขและเป็นตันแบบถนนสายอาหารริมบาทวิถี ปลอดภัย (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหารและประชาชนทั่วไป (3) สถานที่เตรียม ปรุงและจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ถนนเสน่หานุสรณ์ ถนนนิพัทธ์สงเคราะห์ ๑ ถนนภาสว่าง ถนนสามชัยและถนน ป.ณัฐพล ไม่ใช้ภาชนะโฟมบรรจุ อาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 250 คน (2) ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการและรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมและพลาสติก ชนิดโพลิสไตรีน(Polystyrene)ในการบรรจุอาหาร (3) ตรวจแนะนำสถานที่จำหน่ายอาหาร ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียจากตัวอย่างอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ และ ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร (4) สรุปผลการดำเนินงานและมอบป้ายให้แก่แผงลอยและที่ผ่านเกณฑ์ฯตามข้อกำหนด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถีปลอดภัย (Street Food Good Health) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-01-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุกัญดา เหมืองทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......