กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพิศชูแสง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5238-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5238-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยได้เพิ่มสูงขึ้น และมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น จากที่ประชากรไทยมีอายุที่ยืนยาวไม่ถึง 60 ปี เมื่อ 50 ปีก่อนได้เพิ่มสูงขึ้นเป็น 73 ปีในปี พ.ศ. 2552 โดยพบว่าในปี พ.ศ.2545-2550 มีประชากรสูงอายุจากร้อยละ 9.4 เพิ่มเป็นร้อยละ10.7 และในปี พ.ศ. 2554 เพิ่มเป็นร้อยละ 12.2 ปี พ.ศ. 2557 เพิ่มเป็นร้อยละ 14.9 ปี พ.ศ.2560 เพิ่มเป็นร้อยละ 17.1 และแนวโน้มในปี พ.ศ.2563 จะเพิ่มเป็นร้อยละ 18.6 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งถือว่าประเทศไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงวัยเต็มรูปแบบ คือมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด สืบเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การแพทย์ และสาธารณสุข ส่งผลให้อายุคาดเฉลี่ยของประชากรไทยเพิ่มขึ้น และมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มิได้หมายความว่า ผู้สูงอายุจะมีสุขภาพดีขึ้น ช่วงชีวิตที่ยาวขึ้นจะเป็นช่วงชีวิตที่มีปัญหามากขึ้น เนื่องจากวัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เป็นไปในทางเสื่อมสมรรถภาพตามอายุที่เพิ่มขึ้น การทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายลดลง สภาพจิตใจมีการเปลี่ยนแปลง โดยจะหงุดหงิดง่าย และมีความวิตกกังวลสูง การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างของครอบครัว การเกษียณอายุราชการ การเปลี่ยนแปลงทางสถานภาพสมรส สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลต่อสุขภาพ เกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย และเมื่อเจ็บป่วยมักมีอาการรุนแรง และต้องใช้เวลานานในการรักษาและฟื้นฟูสภาพทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า มีผู้สูงอายุป่วยเป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ซึ่งถ้าไม่ได้รับการดูแลตนเองที่ถูกต้องผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง ที่มีภาวะพึ่งพิงสูง และพบว่า ผู้สูงอายุ 1 ใน5คนไม่สามารถออกจากบ้านได้ด้วยตนเองเป็นการสะท้อนสภาวการณ์พึ่งพาทางสังคมได้เด่นชัดนอกจากนี้พบว่าสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงจากครอบครัวขยาย มาเป็นครอบครัวเดี่ยวทีมีขนาดเล็กลง เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันคนในครอบครัวต้องออกไปทำงานนอกบ้าน ผู้สูงอายุมีโอกาสทีจะถูกทอดทิ้งให้เฝ้าบ้าน ปัญหาสุขภาพในประชากรของผู้สูงอายุจะนำไปสู่ความจำเป็นของความต้องการผู้ดูแล และเป็นภาระต่อระบบบริการสุขภาพอย่างมากในอนาคตจากการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวผู้สูงอายุต้องมีการปรับตัวอย่างมาก ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน รวมถึงคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุได้จากสภาพปัญหาข้างต้น ถ้าได้มีการเตรียมความพร้อมรับมือกับปัญหาเหล่านี้เสียแต่ล่วงหน้า ย่อมเป็นการเตรียมการที่จะช่วยให้รัฐไม่ต้องทุ่มงบประมาณจำนวนมหาศาลกับการฟื้นฟู ดูแล รักษาผู้สูงอายุดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นเรื่องเร่งด่วนที่รัฐควรเร่งรีบในการดำเนินการ หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุของไทย ก็จะมีแนวโน้มที่จะต้องเผชิญกับปัญหาผู้สูงอายุโดยเฉพาะสิ่งที่ควรเตรียมความพร้อมในลำดับต้น ๆ เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เพียงพอ และทันสมัยผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแลหรือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและ การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ หรือสมาคมต่าง ๆจะเห็นได้ว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจากเหตุผลดังกล่าวคณะกรรมการอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุหมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า มีความประสงค์จะจัดทำโครงการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560และนำผลจากการดำเนินงานโครงการมาใช้เป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ พิการ และผู้ป่วยติดเตียงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่อาสาสมัครผู้ดูแลฯ ให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแลทั้งที่เป็นกลุ่มปกติ กลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ กลุ่มผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียงได้ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อจัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ถูกต้อง และสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ที่ผ่านการอบรมมีความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย ส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของกลุ่มเป้าหมาย
      1. มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารสำหรับเป็นแนวทางในการนำไปใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหาพื้นที่โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ๑ แห่ง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่1 การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง จำนวนผู้เข้ารับการอบรม 40 คน กิจกรรมที่2 การจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง และสามารถนำข้อมูลดังกล่าวใช้เป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหา ในอนาคต

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่อาสาสมัครผู้ดูแลฯ ให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแลทั้งที่เป็นกลุ่มปกติ กลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ กลุ่มผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียงได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียงได้ถูกต้อง - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลโดยการติดตามเยี่ยมจาก อาสาสมัครผู้ดูแล

     

    2 2. เพื่อจัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ถูกต้อง และสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป
    ตัวชี้วัด : -. ร้อยละ 80 ของข้อมูลข่าวสาร มีความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่อาสาสมัครผู้ดูแลฯ ให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแลทั้งที่เป็นกลุ่มปกติ กลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ กลุ่มผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียงได้ถูกต้อง (2) 2. เพื่อจัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ถูกต้อง และสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5238-02-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพิศชูแสง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด