กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมรัตน์ขำมาก

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5238-01-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5238-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทยในแต่ละปีมีผู้ป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวนมากทำให้มีการสูญเสียงบประมาณที่ใช้ในการรักษาอย่างมากจากรายงานทางระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558– 1 มกราคม 2559 มีผู้ป่วยรวมทั้งสิ้น 10,147ราย อัตราป่วย15.97 ต่อประชากรแสนคน (พบผู้ป่วย 16 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน จำนวนนี้เสียชีวิต 9 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.09จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559–22 พฤศจิกายน 2559 พบผู้ป่วยจำนวน 3,553 รายคิดเป็นอัตราป่วย 252.71 ต่อประชากรแสนคนซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัดเสียชีวิต 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย0.43 ต่อแสนประชากร พื้นที่อำเภอสทิงพระ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559–22 พฤศจิกายน 2559 พบผู้ป่วยจำนวน 34 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 69.61 ต่อประชากรแสนคนซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ในพื้นที่เขตรับผิดขอบของรพ.สต.นางเหล้าปี 2557 - ปี 2559 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 2 ราย , 1 ราย และ 3 ราย ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 70.83 ,40.29 และ 120.20ตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ซึงในปี 2557 และ ปี 2559 อัตราป่วยเกินเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงาน ผลผลิต  :
      -  แต่งตั้งคณะทำงาน SRRT (คณะทำงานควบคุมโรคเคลื่อนที่เร็วเข้มแข็ง) ตำบลชุมพล จำนวน 10 คน

    - ทีมพ่นหมอกควันของอบต.ชุมพลได้รับการอบรมจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อโดยแมลงเขต 12 จำนวน 3 คน - จัดเวทีประชาคมและร่วมกันหามาตรการในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดในพื้นที่หมู่ที่ 2 จำนวน 1 ครั้ง - รณรงค์กำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายร่วมกับอบต. โรงเรียนวัดนางเหล้า ผู้นำชุมชนและอสม.ในพื้นที่หมู่ที่ 2 จำนวน 1 ครั้ง - จัดทำแผ่นไวนิลประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในทุกหมู่บ้าน .จำนวน 3 แผ่น - ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบต่างๆ           * จัดกิจกรรมรณรงค์ในทุกหมู่บ้านจำนวน 4 ครั้งพร้อมทั้งให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม แจกแผ่นพับไข้เลือดออก
              *  ให้ความรู้ทางหอกระจายข่าว ในช่วงที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก - จัดกิจกรรมรณรงค์ สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพ กายภาพ
    และวิธีทางเคมีโดยเครือข่าย อสม.และเจ้าของงบ้าน และรายงานผลส่งสสอ.เดือนละ 1 ครั้ง รวม 11 ครั้ง - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน 1  ครั้ง ห่างกัน  1  สัปดาห์ รวม 4 ครั้ง - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในจากการที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน  5 ราย ๆละ 2  ครั้ง ห่างกัน  1  สัปดาห์ รวม 10 ครั้ง - เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่  พร้อมแจ้งสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จำนวน  ครั้ง
    ผลตัวชี้วัด 1. รพ.สต. โรงเรียน ศูนย์พัฒาเด็กเล็ก วัด มัสยิด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย  CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI
    น้อยกว่า 10 ( แต่ในบางหมู่บ้าน/บางเดือน มากกว่าร้อยละ 10) 2.  ปี พ.ศ 2560 (มกราคม – กันยายน 2560  มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย อัตราป่วย 47.30 ต่อแสนปชก. ร้อยละ 15 ของค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2555-2559) - ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ระดับ5

    ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
    1. ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) 2. 6.1 ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - อสม/ SRRT.อำเภอ /SRRT.ตำบล/เครือข่ายสุขภาพ. - ครภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันและกำจัดยุงลาย (โลชั่นทากันยุง สเปรย์ฉีดยุง ทรายทีมีฟอส ปลาหางนกยูง ) - แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย

    6.2  กระบวนการ กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน การสำรวจปัญหา


    การของบประมาณสนับสนุน


    -สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

    • การสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน


      การพ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย





      การควบคุมการระบาดของโรค - จัดเวทีประชาคมสุขภาพเพื่อชี้แจงสภาพปัญหา ร่วมแสดงความคิดเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
    • ประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชุมพล

    -อสม.สำรวจให้คำแนะนำและร่วมกำจัด ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์กับเจ้าของบ้าน - การสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชนแบบไขว้หมู่บ้าน

    • พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียน/ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทุกรายๆละ 2  ครั้ง ห่างกัน  1  สัปดาห์ จ่ายโลชั่นทากันยุงแก่ผู้ที่สงสัยว่าจะป่วยด้วยโรค - การจัดเวทีประชาคม
    • ข้อมูลจากรง. 506


    • การประชุม ร่วมแสดงความคิดเห็น ความจำเป็นของปัญหา/ การสนับสนุนงบประมาณ

      -แบบสำรวจ -ทรายทีมีฟอส,

    • ปลาหางนกยูง

    • แผนการการสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 3 เดือนครั้ง


    • คนพ่น เครื่องพ่นฯ  น้ำมัน น้ำยาพ่นหมอกควัน ยานพาหนะ


    • โลชั่นทากันยุง

    • สเปร์กำจัดยุง - โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขมีความสำคัญ เป็นลำดับ 2


    • เกิดโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ปี 2560

    • อสม.ส่งรายครบทุกเดือน บางเดือน พบค่าHI CI ไม่เกินเกณฑ์

    • ผลการการสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน พบเกินเกณฑ์.ในบางหมู่บ้าน

    • พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  จำนวน 4 ครั้ง
    • พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในกรณีที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 5 ราย  รวม 10











    กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน





    การส่งสริมความรู้/ประชาสัมพันธ์โครงการ








    เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่  พร้อมวิเคราะห์สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ไข้เลือดออกที่มารับบริการรักษาที่รพ.สต./โรงพยาบาลทุกราย - ใช้สเปรย์ฉีดยุงในบ้านของผู้ป่วยกรณีที่ไม่สามารถพ่นหมอกควันได้ทันที - ชี้แจงในเวทีประชาคม --การประชุมของ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล/คณะกรรมการSRRT.อำเภอ/ตำบล -การประชุมประจำเดือนของอสม.-ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นไวนิล แจกเอกสาร/แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว - อบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการพ่นหมอกควันแก่แกนนำ

    • การรายงานผู้ป่วยทาง E mail และทางโทรศัพท์
    • การแจ้งสถานการณ์โรคไข้เลือดออกแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกเดือน





    • จนท.รพ.สต

    • คณะกรรมการSRRT.อำเภอ/ตำบล
    • อสม.
    • แผ่นไวนิล
    • แจกเอกสารแผ่นพับ
    • หอกระจาย


    • E mail /line ของงานควบคุมโรคติดต่ออำเภอสทิงพระ

    • เอกสารแจ้งสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ครั้ง
    • ไม่มีผู้ป่วยรายที่ 2 ในหมู่บ้านเดียวกันในระยะเวลา 1 เดือน


    หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ประชาชนในพื้นที่ให้ความสำคัญ/ความร่วมมือมากขึ้น - อบต.รับผิดชอบในการพ่นหมอกควันทุกหมู่บ้าน





    - ทราบข้อมูลผู้ป่วยรวดเร็วทำให้การสอบสวนโรคและควบคุมการระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว


    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของรพ.สต. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด มัสยิด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายCI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10 2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2555-2559) 3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ระดับ 5

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน รพ.สต.นางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5238-01-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมรัตน์ขำมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด