กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 1 - 05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา



บทคัดย่อ

ปัญหายาเสพติดของประเทศไทยในปัจจุบันจัดได้ว่าอยู่ในขั้นวิกฤต ซึ่งสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีการผลิตยาเสพติดทั้งภายในประเทศ และมีการลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศมากมายหลายชนิด ซึ่งยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดมากที่สุดในประเทศไทยยังคงเป็นยาบ้า รองลงมา คือ ไอซ์และกัญชา ตามลําดับ ถึงแม้เจ้าหน้าที่ ได้ปราบปรามจับกุมการค้ายาเสพติดอย่างเข้มงวดและจริงจัง แต่ก็ไม่ทำให้การแพร่ระบาดของยาเสพติดลดลง แต่กลับทำให้ผู้ผลิตได้พัฒนายาเสพติดให้ออกฤทธิ์ได้แรงขึ้นและการตรวจพบสารเสพติดในตัวผู้เสพได้ยากขึ้น ทำให้เจ้าหน้าที่จับกุมได้ยากยิ่งขึ้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น หากละเลยไว้จะก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ ทางสังคมอย่างรุนแรงจนไม่สามารถแก้ไขได้ สถานการณ์ยาเสพติดในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง พบว่า ผู้ที่ได้รับการบำบัดปี 2560 - 2562 ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 20-24 ปี และกลุ่มที่มีความเสี่ยงในการใช้ยาเสพติดและสารเสพติดมากที่สุด คือ กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา รองลงมา คือ กลุ่มผู้ว่างงาน กลุ่มรับจ้างทั่วไป และมีแนวโน้มของผู้เสพรายใหม่ในกลุ่มเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น จึงเห็นสมควรที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว พร้อมทั้งหามาตรการในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ให้บรรลุผลอย่างจริงจัง ทั้งในชุมชนตลอดจนสถานศึกษา เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด ตลอดจนการเพิ่มมาตรการทางสังคม และหาแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชนหรือการสร้างข้อตกลงร่วมกัน  ในการเฝ้าระวังยาเสพติดของคนในชุมชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ได้เล็งเห็นถึงปัญหายาเสพติดในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ที่นับวันยิ่งมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพื่อดำเนินงานการสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันยาเสพติดในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในวัยเด็กและเยาวชนและเพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน


ผลการดำเนินโครงการพบว่า

กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา
การดำเนินการกิจกรรมอบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา โดยคัดเลือกแกนนำประจำหมู่บ้านในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง กลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำ (ประชาชน เด็ก/เยาวชน และบุคลากรสถานศึกษา) ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 60 คน ซึ่งมีผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้

1.การสร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังในชุมชนและสถานศึกษา

จากการขอความอนุเคราะห์ผู้นำชุมชนในการคัดเลือกแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพื่อจัดตั้งเป็นแกนนำดังกล่าว โดยจะเน้นการมีส่วนร่วมของหลายภาคส่วน ประกอบด้วย กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ผู้นำศาสนา ตัวแทนครูจากสถานศึกษาในชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนเด็กและเยาวชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และตัวแทนประชาชน หมู่บ้านละ 10 คน ซึ่งชุมชนได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้เกิดเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ตลอดจนแกนนำของชุมชนได้ให้ความสำคัญและพร้อมผนึกกำลังเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนต่อไป และในส่วนของสถานศึกษาทางสถานศึกษาได้แต่งตั้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นแกนนำอาสาสมัครและเครือข่าย ที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ผ่านตัวชี้วัดความสำเร็จที่คาดไว้ คือ ร้อยละ 100 ของชุมชนมีแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด

2.อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ดังต่อไปนี้

1.) สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบัน พร้อมสอดแทรกความรู้เรื่องยาเสพติด

1.1 ) ความหมายสิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

1.2 ) ประเภทของยาเสพติด

1.3 ) สาเหตุที่ทำให้ติดสารเสพติดหรือยาเสพติด

1.4 ) วิธีสังเกตผู้ติด สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

1.5 ) โทษของ สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด


2.) การบำบัด รักษา ฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด

๓.) การป้องกันยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

๔.) ร่วมวิเคราะห์สถานการณ์ในชุมชนและสถานศึกษา พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์

สำหรับการประเมินผลในการอบรม มีเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินผลจากการทดสอบความรู้ คือ ข้อที่ตอบถูกได้ ๑ คะแนน ข้อที่ตอบผิดได้ ๐ คะแนน และกำหนดเกณฑ์การผ่านการทดสอบต้องได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ (คะแนนตั้งแต่ ๑๐ คะแนนขึ้นไป ของคะแนนเต็ม ๑๒ คะแนน) ซึ่ง พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีความรู้น้อยกว่าร้อยละ 80 (ไม่ผ่านเกณฑ์) จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 75.47 และมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 24.53 และหลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมดมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งจากการทดสอบความรู้ก่อน - หลังอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งเกิดผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัดที่วางไว้ คือ แกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษามีความรู้ ร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 2 ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

การดำเนินการกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา ซึ่งมีผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้

1) ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง
การดำเนินการประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ซึ่งได้รับความร่วมมือจากโรงเรียนในเขตพื้นที่เป็นอย่างดี โดยได้ร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงานยาเสพติดในสถานศึกษา พร้อมทั้งการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำกิจกรรมในสถานศึกษา ตลอดจนกำหนดการประชุมเพื่อสร้างมาตรการเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษา

2) ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด

การดำเนินกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด ซึ่งในส่วนของสถานศึกษาได้จัดประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง โดยให้ทางสถานศึกษาสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา และสำหรับชุมชน ได้ให้ทางชุมชนร่วมกันสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในของชุมชนแต่ละชุมชน ซึ่งร้อยละ 100 ของชุมชนและสถานศึกษา ได้มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังยาเสพติด

กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โปสเตอร์ให้ความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เพื่อใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันยาเสพติดในพื้นที่ต่อไป ซึ่งชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ได้รับสื่อประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 100

กิจกรรมที่ 4 ติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา
การดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา โดยขอรายชื่อผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา จากศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงู เพื่อติดตามดูแลผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนให้ความรู้และทักษะชีวิต ระหว่างผู้ติดตามและผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ตลอดจนการตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดในร่างกายของผู้ที่ผ่านการบำบัด หากพบสารเสพติดประสานเจ้าหน้าที่เพื่อส่งต่อเข้ารับการบำบัดรักษาแบบสมัครใจ ทั้งนี้ทางศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงูไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารที่ไม่สามารถเปิดเผยได้ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2560 หมวด 2 มาตรา 15 อนุ (5) คือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล ทั้งนี้อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง และจากการสอบถามในชุมชน ก็ไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากเกรงว่าจะส่งผลกระทบต่อตนเองและครอบครัว จึงทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาได้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดของประเทศไทยในปัจจุบันจัดได้ว่าอยู่ในขั้นวิกฤต ซึ่งสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีการผลิตยาเสพติดทั้งภายในประเทศ และมีการลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศมากมายหลายชนิด ซึ่งยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดมากที่สุดในประเทศไทยยังคงเป็นยาบ้า รองลงมา คือ ไอซ์และกัญชา ตามลําดับ ถึงแม้เจ้าหน้าที่ได้ปราบปรามจับกุมการค้ายาเสพติดอย่างเข้มงวดและจริงจัง แต่ก็ไม่ทำให้การแพร่ระบาดของยาเสพติดลดลง แต่กลับทำให้ผู้ผลิตได้พัฒนายาเสพติดให้ออกฤทธิ์ได้แรงขึ้นและการตรวจพบสารเสพติดในตัวผู้เสพได้ยากขึ้น ทำให้เจ้าหน้าที่จับกุมได้ยากยิ่งขึ้นจากสภาพปัญหาดังกล่าว ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น หากละเลยไว้จะก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ทางสังคมอย่างรุนแรงจนไม่สามารถแก้ไขได้

สถานการณ์ยาเสพติดจังหวัดสตูล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดสตูล พบว่า ยาบ้ามีการแพร่ระบาดมากที่สุด ร้อยละ 57.34รองลงมาเป็นพืชกระท่อม ร้อยละ 37.41 ,ไอซ์ ร้อยละ 2.15 และกัญชา ร้อยละ 2.05และพบการแพร่ระบาดของยาเสพติดมากที่สุด ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองสตูล คิดเป็นร้อยละ 29.79รองลงมาอำเภอละงู ร้อยละ 21.57ซึ่งในเขตพื้นที่อำเภอละงู พบการแพร่ระบาดมากที่สุดคือ ยาบ้า ร้อยละ 64.40 รองลงมาเป็นพืชกระท่อม ร้อยละ 32.47 และไอซ์ ร้อยละ 1.07 ทั้งนี้ข้อมูลจากโรงพยาบาลละงู พบว่าผู้ได้รับการบำบัดจากการใช้สารเสพติดในเขตพื้นที่อำเภอละงู ปี 2560 - 2562 พบว่า มีจำนวน 198ราย , 221 ราย และ 256 ราย ตามลำดับ สำหรับในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง พบว่า ผู้ที่ได้รับการบำบัด ปี 2560 - 2562 พบว่า มีจำนวน 38 ราย , 46 ราย และ 60 ราย ตามลำดับ และช่วงอายุผู้เข้ารับการบำบัด ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 20-24 ปี ร้อยละ 25.30 รองลงมา อายุระหว่าง 25-29 ปี ร้อยละ 17.60 ทั้งนี้กลุ่มที่มีความเสี่ยงในการใช้ยาเสพติดและสารเสพติดมากที่สุด คือ กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 52.79 รองลงมา คือ กลุ่มผู้ว่างงาน ร้อยละ 21.56 กลุ่มรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 19.07 และกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 6.58 ตามลำดับและจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ปี 2560 - 2562 พบว่า มีจำนวน 14 ราย , 22 ราย และ24 ราย ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าแนวโน้มของผู้เสพรายใหม่ในกลุ่มเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น จึงเห็นสมควรที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว พร้อมทั้งหามาตรการในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดให้บรรลุผลอย่างจริงจัง ทั้งในชุมชนตลอดจนสถานศึกษา เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด ตลอดจนการเพิ่มมาตรการทางสังคม และหาแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชนหรือการสร้างข้อตกลงร่วมกันในการเฝ้าระวังยาเสพติดของคนในชุมชน

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ได้เล็งเห็นถึงปัญหายาเสพติดในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ที่นับวันยิ่งมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดส่วนใหญ่เป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศเพื่อดำเนินงานการสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันยาเสพติดในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในวัยเด็กและเยาวชน และเพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในชุมชนและสถานศึกษา
  2. เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา
  2. ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของสถานศึกษาในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง
  3. ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด
  4. ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษา พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด
  5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  6. ติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา
  7. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา 15
แกนนำ (ประชาชน เด็ก/เยาวชน และบุคลากรสถานศึกษา) 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนผู้ผ่านการบำบัดรายใหม่ลดลง
  2. ชุมชนและสถานศึกษาทุกแห่งมีแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด
  3. แกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษามีความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดเพิ่มขึ้น
  4. ชุมชนและสถานศึกษาทุกแห่ง มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังยาเสพติด
  5. ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง
  6. ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดไม่กลับไปเสพสารเสพติดซ้ำ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา

วันที่ 1 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ขอรายชื่อผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา จากศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงู

  • ติดตามดูแลผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนให้ความรู้และทักษะชีวิต ระหว่างผู้ติดตามและผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด จำนวน 2 ครั้ง

  • ตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดในร่างกายของผู้ที่ผ่านการบำบัด หากพบสารเสพติดประสานเจ้าหน้าที่เพื่อส่งต่อเข้ารับการบำบัดรักษาแบบสมัครใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา โดยขอรายชื่อผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา จากศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงู เพื่อติดตามดูแลผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนให้ความรู้และทักษะชีวิต ระหว่างผู้ติดตามและผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ตลอดจนการตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดในร่างกายของผู้ที่ผ่านการบำบัด หากพบสารเสพติดประสานเจ้าหน้าที่เพื่อส่งต่อเข้ารับการบำบัดรักษาแบบสมัครใจ ทั้งนี้ทางศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงูไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารที่ไม่สามารถเปิดเผยได้ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2560 หมวด 2 มาตรา 15 อนุ (5) คือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล ทั้งนี้อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง และจากการสอบถามในชุมชน ก็ไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากเกรงว่าจะส่งผลกระทบต่อตนเองและครอบครัว จึงทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาได้

 

0 0

2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โปสเตอร์ให้ความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ให้กับชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 22 แห่งๆละ 2 แผ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โปสเตอร์ให้ความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เพื่อใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ ในการป้องกันยาเสพติดในพื้นที่ต่อไป ซึ่งชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ได้รับสื่อประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 100

 

0 0

3. ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของสถานศึกษาในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

วันที่ 29 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินการกิจกรรมประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ซึ่งได้รับความร่วมมือจากโรงเรียนในเขตพื้นที่เป็นอย่างดี โดยได้ร่วมกำหนด แนวทางการดำเนินงานยาเสพติดในสถานศึกษา พร้อมทั้งการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำกิจกรรมในสถานศึกษา ตลอดจนกำหนดการประชุมเพื่อสร้างมาตรการเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษา

 

0 0

4. ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษา พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด

วันที่ 3 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด

  • ประชุมสร้างมาตรการเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษา จำนวน 10 แห่ง

  • เผยแพร่มาตรการของแต่ละสถานศึกษา

  • ประชุมติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดในสถานศึกษา จำนวน 10 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด ซึ่งในส่วนของสถานศึกษาได้จัดประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง โดยให้ทางสถานศึกษาสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา ซึ่งร้อยละ 100 ของสถานศึกษา ได้มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังยาเสพติด

 

0 0

5. อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

วันที่ 4 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • การสร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังในชุมชนและสถานศึกษา

  • อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินการสร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังในชุมชนและสถานศึกษา ซึ่งจากการขอความอนุเคราะห์ผู้นำชุมชนในการคัดเลือกแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพื่อจัดตั้งเป็นแกนนำดังกล่าว โดยจะเน้นการมีส่วนร่วมของหลายภาคส่วน ประกอบด้วย กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ผู้นำศาสนา ตัวแทนครูจากสถานศึกษาในชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนเด็กและเยาวชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และตัวแทนประชาชน หมู่บ้านละ 10 คน ซึ่งชุมชนได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้เกิดเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ตลอดจนแกนนำของชุมชนได้ให้ความสำคัญและพร้อมผนึกกำลังเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนต่อไป และในส่วนของสถานศึกษา ทางสถานศึกษาได้แต่งตั้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ผ่านตัวชี้วัดความสำเร็จที่คาดไว้ คือ ร้อยละ 100 ของชุมชนมีแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดและสำหรับกิจกรรมการอบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ดังต่อไปนี้

1.) สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบัน พร้อมสอดแทรกความรู้เรื่องยาเสพติด

  • ความหมายสิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

  • ประเภทของยาเสพติด

  • สาเหตุที่ทำให้ติดสารเสพติดหรือยาเสพติด

  • วิธีสังเกตผู้ติด สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

  • โทษของ สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

2.) การบำบัด รักษา ฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด

๓.) การป้องกันยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

๔.) ร่วมวิเคราะห์สถานการณ์ในชุมชนและสถานศึกษา พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์

สำหรับการประเมินผลในการอบรม มีเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินผลจากการทดสอบความรู้ คือ ข้อที่ตอบถูกได้ ๑ คะแนน ข้อที่ตอบผิดได้ ๐ คะแนน และกำหนดเกณฑ์การผ่านการทดสอบต้องได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ (คะแนนตั้งแต่ ๑๐ คะแนนขึ้นไป ของคะแนนเต็ม ๑๒ คะแนน) ซึ่ง พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีความรู้น้อยกว่าร้อยละ 80 (ไม่ผ่านเกณฑ์) จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 75.47 และมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 24.53 และหลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมดมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งจากการทดสอบความรู้ก่อน - หลังอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งเกิดผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัดที่วางไว้ คือ แกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษามีความรู้ ร้อยละ 80

 

0 0

6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้ง

  • จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

7. ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด

วันที่ 11 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด

  • ประชุมสร้างมาตรการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน จำนวน 12 หมู่บ้าน
  • เผยแพร่มาตรการของแต่ละชุมชน
  • ประชุมติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดในชุมชน จำนวน 12 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ได้ให้ทางชุมชนร่วมกันสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในของชุมชนแต่ละชุมชน ซึ่งร้อยละ 100 ของชุมชนได้มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังยาเสพติด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินโครงการพบว่า

กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา
การดำเนินการกิจกรรมอบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา โดยคัดเลือกแกนนำประจำหมู่บ้านในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง กลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำ (ประชาชน เด็ก/เยาวชน และบุคลากรสถานศึกษา) ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 60 คน ซึ่งมีผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้

  1. การสร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังในชุมชนและสถานศึกษา

จากการขอความอนุเคราะห์ผู้นำชุมชนในการคัดเลือกแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพื่อจัดตั้งเป็นแกนนำดังกล่าว โดยจะเน้นการมีส่วนร่วมของหลายภาคส่วน ประกอบด้วย กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ผู้นำศาสนา ตัวแทนครูจากสถานศึกษาในชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนเด็กและเยาวชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และตัวแทนประชาชน หมู่บ้านละ 10 คน ซึ่งชุมชนได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้เกิดเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ตลอดจนแกนนำของชุมชนได้ให้ความสำคัญและพร้อมผนึกกำลังเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนต่อไป และในส่วนของสถานศึกษาทางสถานศึกษาได้แต่งตั้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นแกนนำอาสาสมัครและเครือข่าย ที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ผ่านตัวชี้วัดความสำเร็จที่คาดไว้ คือ ร้อยละ 100 ของชุมชนมีแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด

  1. อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ดังต่อไปนี้

1.) สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบัน พร้อมสอดแทรกความรู้เรื่องยาเสพติด

1.1 ) ความหมายสิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

1.2 ) ประเภทของยาเสพติด

1.3 ) สาเหตุที่ทำให้ติดสารเสพติดหรือยาเสพติด

1.4 ) วิธีสังเกตผู้ติด สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

1.5 ) โทษของ สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด


2.) การบำบัด รักษา ฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด

๓.) การป้องกันยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

๔.) ร่วมวิเคราะห์สถานการณ์ในชุมชนและสถานศึกษา พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์

สำหรับการประเมินผลในการอบรม มีเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินผลจากการทดสอบความรู้ คือ ข้อที่ตอบถูกได้ ๑ คะแนน ข้อที่ตอบผิดได้ ๐ คะแนน และกำหนดเกณฑ์การผ่านการทดสอบต้องได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ (คะแนนตั้งแต่ ๑๐ คะแนนขึ้นไป ของคะแนนเต็ม ๑๒ คะแนน) ซึ่ง พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีความรู้น้อยกว่าร้อยละ 80 (ไม่ผ่านเกณฑ์) จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 75.47 และมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 24.53 และหลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมดมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งจากการทดสอบความรู้ก่อน - หลังอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งเกิดผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัดที่วางไว้ คือ แกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษามีความรู้ ร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 2 ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

การดำเนินการกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา ซึ่งมีผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้

1) ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง
การดำเนินการประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ซึ่งได้รับความร่วมมือจากโรงเรียนในเขตพื้นที่เป็นอย่างดี โดยได้ร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงานยาเสพติดในสถานศึกษา พร้อมทั้งการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำกิจกรรมในสถานศึกษา ตลอดจนกำหนดการประชุมเพื่อสร้างมาตรการเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษา

2) ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด

การดำเนินกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด ซึ่งในส่วนของสถานศึกษาได้จัดประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง โดยให้ทางสถานศึกษาสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา และสำหรับชุมชน ได้ให้ทางชุมชนร่วมกันสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในของชุมชนแต่ละชุมชน ซึ่งร้อยละ 100 ของชุมชนและสถานศึกษา ได้มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังยาเสพติด

กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โปสเตอร์ให้ความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เพื่อใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันยาเสพติดในพื้นที่ต่อไป ซึ่งชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ได้รับสื่อประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 100

กิจกรรมที่ 4 ติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา
การดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา โดยขอรายชื่อผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา จากศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงู เพื่อติดตามดูแลผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนให้ความรู้และทักษะชีวิต ระหว่างผู้ติดตามและผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ตลอดจนการตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดในร่างกายของผู้ที่ผ่านการบำบัด หากพบสารเสพติดประสานเจ้าหน้าที่เพื่อส่งต่อเข้ารับการบำบัดรักษาแบบสมัครใจ ทั้งนี้ทางศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงูไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารที่ไม่สามารถเปิดเผยได้ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2560 หมวด 2 มาตรา 15 อนุ (5) คือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล ทั้งนี้อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง และจากการสอบถามในชุมชน ก็ไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากเกรงว่าจะส่งผลกระทบต่อตนเองและครอบครัว จึงทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในชุมชนและสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ผ่านการบำบัดรายใหม่ลดลง 2. ร้อยละ 100 ของชุมชนและสถานศึกษามีแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด 3. แกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษามีความรู้ ร้อยละ 80 4. ร้อยละ 100 ของชุมชนและสถานศึกษา มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังยาเสพติด
0.00 100.00

 

2 เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง 2. ร้อยละ 20 ของผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดไม่กลับไปเสพสารเสพติดซ้ำ
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา 15
แกนนำ (ประชาชน เด็ก/เยาวชน และบุคลากรสถานศึกษา) 60 60

บทคัดย่อ*

ปัญหายาเสพติดของประเทศไทยในปัจจุบันจัดได้ว่าอยู่ในขั้นวิกฤต ซึ่งสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีการผลิตยาเสพติดทั้งภายในประเทศ และมีการลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศมากมายหลายชนิด ซึ่งยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดมากที่สุดในประเทศไทยยังคงเป็นยาบ้า รองลงมา คือ ไอซ์และกัญชา ตามลําดับ ถึงแม้เจ้าหน้าที่ ได้ปราบปรามจับกุมการค้ายาเสพติดอย่างเข้มงวดและจริงจัง แต่ก็ไม่ทำให้การแพร่ระบาดของยาเสพติดลดลง แต่กลับทำให้ผู้ผลิตได้พัฒนายาเสพติดให้ออกฤทธิ์ได้แรงขึ้นและการตรวจพบสารเสพติดในตัวผู้เสพได้ยากขึ้น ทำให้เจ้าหน้าที่จับกุมได้ยากยิ่งขึ้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น หากละเลยไว้จะก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ ทางสังคมอย่างรุนแรงจนไม่สามารถแก้ไขได้ สถานการณ์ยาเสพติดในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง พบว่า ผู้ที่ได้รับการบำบัดปี 2560 - 2562 ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 20-24 ปี และกลุ่มที่มีความเสี่ยงในการใช้ยาเสพติดและสารเสพติดมากที่สุด คือ กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา รองลงมา คือ กลุ่มผู้ว่างงาน กลุ่มรับจ้างทั่วไป และมีแนวโน้มของผู้เสพรายใหม่ในกลุ่มเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น จึงเห็นสมควรที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว พร้อมทั้งหามาตรการในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ให้บรรลุผลอย่างจริงจัง ทั้งในชุมชนตลอดจนสถานศึกษา เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด ตลอดจนการเพิ่มมาตรการทางสังคม และหาแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชนหรือการสร้างข้อตกลงร่วมกัน  ในการเฝ้าระวังยาเสพติดของคนในชุมชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ได้เล็งเห็นถึงปัญหายาเสพติดในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ที่นับวันยิ่งมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพื่อดำเนินงานการสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันยาเสพติดในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา เพื่อสกัดกั้นผู้เสพรายใหม่ในวัยเด็กและเยาวชนและเพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน


ผลการดำเนินโครงการพบว่า

กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา
การดำเนินการกิจกรรมอบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา โดยคัดเลือกแกนนำประจำหมู่บ้านในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง กลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำ (ประชาชน เด็ก/เยาวชน และบุคลากรสถานศึกษา) ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 60 คน ซึ่งมีผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้

1.การสร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังในชุมชนและสถานศึกษา

จากการขอความอนุเคราะห์ผู้นำชุมชนในการคัดเลือกแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพื่อจัดตั้งเป็นแกนนำดังกล่าว โดยจะเน้นการมีส่วนร่วมของหลายภาคส่วน ประกอบด้วย กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ผู้นำศาสนา ตัวแทนครูจากสถานศึกษาในชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนเด็กและเยาวชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และตัวแทนประชาชน หมู่บ้านละ 10 คน ซึ่งชุมชนได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้เกิดเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน ตลอดจนแกนนำของชุมชนได้ให้ความสำคัญและพร้อมผนึกกำลังเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนต่อไป และในส่วนของสถานศึกษาทางสถานศึกษาได้แต่งตั้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นแกนนำอาสาสมัครและเครือข่าย ที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ผ่านตัวชี้วัดความสำเร็จที่คาดไว้ คือ ร้อยละ 100 ของชุมชนมีแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด

2.อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ดังต่อไปนี้

1.) สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบัน พร้อมสอดแทรกความรู้เรื่องยาเสพติด

1.1 ) ความหมายสิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

1.2 ) ประเภทของยาเสพติด

1.3 ) สาเหตุที่ทำให้ติดสารเสพติดหรือยาเสพติด

1.4 ) วิธีสังเกตผู้ติด สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด

1.5 ) โทษของ สิ่งเสพติดหรือยาเสพติด


2.) การบำบัด รักษา ฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด

๓.) การป้องกันยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

๔.) ร่วมวิเคราะห์สถานการณ์ในชุมชนและสถานศึกษา พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์

สำหรับการประเมินผลในการอบรม มีเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินผลจากการทดสอบความรู้ คือ ข้อที่ตอบถูกได้ ๑ คะแนน ข้อที่ตอบผิดได้ ๐ คะแนน และกำหนดเกณฑ์การผ่านการทดสอบต้องได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ (คะแนนตั้งแต่ ๑๐ คะแนนขึ้นไป ของคะแนนเต็ม ๑๒ คะแนน) ซึ่ง พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีความรู้น้อยกว่าร้อยละ 80 (ไม่ผ่านเกณฑ์) จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 75.47 และมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 24.53 และหลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมดมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 (ผ่านเกณฑ์) คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งจากการทดสอบความรู้ก่อน - หลังอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีคะแนนหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม จึงสรุปได้ว่าการจัดการอบรมครั้งนี้ ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งเกิดผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัดที่วางไว้ คือ แกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษามีความรู้ ร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 2 ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

การดำเนินการกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา ซึ่งมีผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้

1) ประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง
การดำเนินการประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ซึ่งได้รับความร่วมมือจากโรงเรียนในเขตพื้นที่เป็นอย่างดี โดยได้ร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงานยาเสพติดในสถานศึกษา พร้อมทั้งการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำกิจกรรมในสถานศึกษา ตลอดจนกำหนดการประชุมเพื่อสร้างมาตรการเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษา

2) ประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด พร้อมสร้างมาตรการและติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด

การดำเนินกิจกรรมประชุมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด ซึ่งในส่วนของสถานศึกษาได้จัดประชุมชี้แจงผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของโรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง โดยให้ทางสถานศึกษาสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษา และสำหรับชุมชน ได้ให้ทางชุมชนร่วมกันสร้างมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดในของชุมชนแต่ละชุมชน ซึ่งร้อยละ 100 ของชุมชนและสถานศึกษา ได้มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังยาเสพติด

กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โปสเตอร์ให้ความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เพื่อใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันยาเสพติดในพื้นที่ต่อไป ซึ่งชุมชนและสถานศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ได้รับสื่อประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 100

กิจกรรมที่ 4 ติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา
การดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา โดยขอรายชื่อผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ที่ผ่านการบำบัดรักษา จากศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงู เพื่อติดตามดูแลผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนให้ความรู้และทักษะชีวิต ระหว่างผู้ติดตามและผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ตลอดจนการตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดในร่างกายของผู้ที่ผ่านการบำบัด หากพบสารเสพติดประสานเจ้าหน้าที่เพื่อส่งต่อเข้ารับการบำบัดรักษาแบบสมัครใจ ทั้งนี้ทางศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอละงูไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารที่ไม่สามารถเปิดเผยได้ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2560 หมวด 2 มาตรา 15 อนุ (5) คือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล ทั้งนี้อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง และจากการสอบถามในชุมชน ก็ไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากเกรงว่าจะส่งผลกระทบต่อตนเองและครอบครัว จึงทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาได้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. โครงการได้รับการอนุมัติตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ แต่ไม่สามารถจัดสรรเงินได้เนื่องจาก ไม่สามารถจัดประชุมชี้แจงจัดทำบันทึกข้อตกลงฯ ทำให้การจัดสรรงบประมาณล่าช้า เพราะเกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในช่วงเดือน มกราคม 2563 เป็นต้นไป ทำให้ ต้องงดกิจกรรมที่มีจำนวนผู้เข้าร่วมชุมนุมเกินกว่า 50 คนขึ้นไป ตามคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสตูล ที่ 1/2563 เรื่องมาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 สั่ง ณ วันที่ 20 มีนาคม 2563 ส่งผลให้การดำเนินการแต่ละกิจกรรมล่าช้าออกไป และระยะเวลาในการดำเนินโครงการ เป็นการดำเนินกิจกรรมข้ามปีงบประมาณ จึงทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ไม่สามารถกันเงินคงเหลือเพื่อดำเนินการตามโครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และเพื่อใช้จ่ายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้ จึงมีความจำเป็นจะต้องส่งเงินคืนโครงการ กลับสู่กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ เป็นการชั่วคราว และโอนเงินกลับเข้าสู่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เพื่อดำเนินโครงการต่อในภายหลัง ทำให้เกิดความล่าช้า ในการดำเนินโครงการ
  2. การดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ซึ่งศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดอำเภอละงู ที่ผ่านการบำบัดรักษาไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากศูนย์ฯ ไม่สามารถให้ข้อมูลผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดได้ เพราะข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารที่ไม่สามารถเปิดเผยได้ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2560 หมวด 2 มาตรา 15 อนุ (5) คือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล ทั้งนี้อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งและจากการสอบถามในชุมชน ก็ไม่สามารถให้ข้อมูลได้ เนื่องจากเกรงว่าจะส่งผลกระทบต่อตนเองและครอบครัว จึงทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมติดตามดูแล ผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติดที่ผ่านการบำบัดรักษาได้

 

  1. ขยายระยะเวลาการดำเนินโครงการ เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมครบทุกกิจกรรมและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในโครงการ
  2. ในการดำเนินกิจกรรมสร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเฝ้าระวังในชุมชนและสถานศึกษา ซึ่งยังขาดความครอบคลุมในส่วนของสถานศึกษา คือ สถานศึกษาในภาคเอกชนของเขตพื้นที่ตำบลกำแพง ยังได้เข้าร่วมโครงการ หากมีการจัดทำโครงการในภายภาคหน้า ควรให้ครอบคลุมในส่วนของโรงเรียนภาคเอกชนด้วย

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 1 - 05 ระยะเวลาโครงการ 25 กุมภาพันธ์ 2563 - 25 กุมภาพันธ์ 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรณรงค์ ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและสถานศึกษา จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 1 - 05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด