กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน ”
ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายจารุเสน ดอฆอมูเซ๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63–L8413-03-01 เลขที่ข้อตกลง 05/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63–L8413-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากสังคมปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ รวมถึงทางด้านพฤติกรรมสภาพความเป็นอยู่ อาหารการกินที่ผิดหลักโภชนาการ ทำให้หลายคนมองข้ามการออกกำลังกาย อีกทั้ง บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลง และอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ฯลฯ
      การรักษาสุขภาพ ผู้สูงอายุและผู้พิการ ควรระมัดระวังการเจ็บป่วยและการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นง่าย หากผู้สูงอายุและผู้พิการมีปัญหาด้านสุขภาพดังกล่าวแล้ว ต้องใช้เวลาในการดูแลรักษาและฟื้นฟูนานกว่าคนหนุ่มสาว การออกกำลังกาย เป็นแนวทางหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เพราะนอกจากจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง กล้ามเนื้อทำงานดีขึ้น ยังเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ หายเครียด และที่สำคัญคือ เซลล์สมองทำงานดีขึ้น       การออกกำลังกายส่งผลดีต่อผู้สูงอายุและผู้พิการในหลายด้าน โดยการออกกำลังกายจะส่งผลต่อระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจมีขนาดใหญ่และแข็งแรงขึ้นส่งผลให้สามารถรับเลือดเข้าสู่หัวใจและสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้มากขึ้น ในระบบหายใจการออกกำลังกายทำให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น ความจุปอดเพิ่มขึ้น และกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจแข็งแรงขึ้น ส่งผลให้ปอดสามารถระบายอากาศและแลกเปลี่ยนก๊าซได้เพิ่มขึ้น (Keteyian&Brawner, 2006)ในระบบกล้ามเนื้อการออกกำลังกายช่วยให้กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ขึ้นซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นของทั้งจำนวนและขนาดของเส้นใย และยังส่งผลทางด้านจิตใจโดยการออกกำลังกายทำให้ร่างกายหลั่งสารเอนโดรฟิน (endorphine) ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้เกิดความรู้สึกสดชื่น ช่วยให้อารมณ์ดีขึ้นลดความตึงเครียด จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการออกกำลังกายส่งผลดีต่อผู้สูงอายุ ดังนั้นศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ ตำบลบาลอ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  2. 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ทักษะ ด้านการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง           2. ลดภาวะเจ็บป่วยและความรุนแรงของโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมออกกำลังกาย

วันที่ 1 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประสานวิทยากรและผู้เข้าร่วมอบรม
  3. ดำเนินการตามกิจกรรมโครงการ
        3.1 บรรยายให้ความรู้เรื่อง
    • หลักการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายในชุมชน
    • การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา
    • หลักการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัย “การป้องกันการบาดเจ็บ”
    • การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ     3.2 แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ           - การออกกำลังกายโดยเครื่องออกกำลังกาย
    • การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
    • ส่งเสริมการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน แทนการใช้รถมอเตอร์ไซด์                     4. สรุปและประเมินผล                     5. รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง                     2. ลดภาวะเจ็บป่วยและความรุนแรงของโรค

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) 2. ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปีและ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ทักษะ ด้านการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายและมีความรู้และเข้าใจทักษะด้านการออกกำลังกาย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ทักษะ ด้านการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63–L8413-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจารุเสน ดอฆอมูเซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด