กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19)

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8423-05-08 เลขที่ข้อตกลง 10/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8423-05-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 พฤษภาคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ที่กำลังระบาดทั่วโลกในขณะนี้ รวมไปถึงประเทศไทยที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) เช่นกัน ส่งผลกระทบในวงกว้าง มีอัตราป่วยที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและอัตราการเสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน สร้างความเดือดร้อนเสียหายทั้งต่อสุขภาพพลานามัยและผลกระทบในทางอ้อมทั้งสภาพเศรษฐกิจสังคมแก่ประชาชนในพื้นที่ ซึ่งในปัจจุบันพบว่าข้อมูลผู้ป่วยด้วยเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ทั่วโลก (ข้อมูล ณ วันที่ 15 เมษายน 2563) พบผู้ป่วยยืนยัน 2,083,304 ราย เสียชีวิต 134,616 รายและพบผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤติ 51,142 ราย และข้อข้อมูลผู้ป่วยด้วยเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ในประเทศไทย (ข้อมูล ณ วันที่ 15 เมษายน 2563) พบผู้ป่วยยืนยัน 2,643 ราย เสียชีวิต 43 รายและพบผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤติ 61 ราย และข้อข้อมูลผู้ป่วยด้วยเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ในจังหวัดนราธิวาส (ข้อมูล ณ วันที่ 15 เมษายน 2563) พบผู้ป่วยยืนยัน 29 ราย เสียชีวิต 1 ราย จากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่มีความเสี่ยงที่มีความจำเป็นต้องมีมาตรการเฝ้าระวังป้องกันทั้งในระดับนโยบายและในระดับพื้นที่เพื่อสกัดกั้นยับยั้งการแพร่กระจายเชื้อที่จะส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชน เกิดการเจ็บป่วยและอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงเสียชีวิตได้ อนึ่ง เชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) เป็นโรคระบาดที่สามารถติดต่อได้ง่ายและติดต่อได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งมีภาวะแทรกซ้อนที่จะทำให้เกิดภาวะปอดอักเสบเป็นอันตรายต่อชีวิต ดังนั้นการควบคุมเฝ้าระวังโดยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง การดำเนินงานตามหลักมาตรฐานทางระบาดวิทยา การสอบสวนโรคและควบคุมป้องกันเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ตลอดจนการสื่อสารเรื่องมาตรการการป้องกันการติดเชื้อให้แก่ประชาชนก็มีความสำคัญไม่ลดหย่อนไปกว่ากันที่จะต้องเร่งรัดดำเนินการให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการติดเชื้อ ทั้งในเรื่องของการใส่หน้ากากอนามัย การกำชับส่งเสริมในเรื่องของการล้างมือบ่อยๆ การรักษาระยะห่างทางสังคม (Social distancing) และการเฝ้าระวังสังเกตอาการ ซึ่งกระบวนการทั้งหมดทั้งจากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และกระบวนการที่ต้องปฏิบัติจากประชาชน เป็นกระบวนที่ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจและการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดต่อเนื่องจึงจะทำให้หยุดยั้งการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ได้ ตามประกาศฯ ขอ 10(5) นั้น สามารถกันเงินสำหรับแกปญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติ รอยละ 5-10 ของรายรับ หรือมากกวาตามสถานการณตามแผนงานหรือโครงการที่เคยอนุมัติไวหากจำเปนตองขยายวงเงินเพราะไมเพียงพอ ทานสามารถดำเนินการได (โดยใหนำเสนอใหความเห็นชอบในที่ประชุมครั้งตอไป) เงื่อนไขครุภัณฑที่จำเปนตอการดำเนินโครงการไมจำกัดวงเงิน ขอใหเบิกจายเงินโครงการแกผูรับทุนดำเนินการดวยความรวดเร็วเพื่อใหสามารถทันตอการแกไขปญหา ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะจัดให้มี โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส (โควิด-19) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส (โควิด-19) โดยมีมาตรการการควบคุมป้องกันโรคทางระบาดวิทยาที่มีมาตรฐานและมาตรการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ
  2. การลงพื้นที่เพื่อเคาะประตูบ้าน คัดกรอง และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากพื้นที่เกิดการระบาด ติดตามสังเกตอาการ กำชับเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคภายในบ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นล้างมือบ่อยๆ และการดำเนินการตามมาตรการรักษาระยะห่าง (Social Distancing)
  3. การลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค การดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยมีการสื่อสารทุกช่องทาง ทุกสื่อที่หลากหลายและดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง
  4. ติดตาม ทบทวน เฝ้าสังเกตการณ์การดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และตื่นตัวในการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและตื่นตัว ตลอดจนมีการกำหนดแผน การกำหนดความพร้อมด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องของแนวทางการปฏิบัติ วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ข้อมูลทางวิชาการให้มีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังและการควบคุมป้องกันโรคตามหลักระบาดวิทยา และมาตรการที่กำหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข ทั้งในเรื่องการสื่อสารการเฝ้าระวังการป้องกันโรคและดำเนินการตามมาตรการทางปฏิบัติที่จะควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
  2. การลงพื้นที่เพื่อเคาะประตูบ้าน คัดกรอง และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากพื้นที่เกิดการระบาด ติดตามสังเกตอาการ กำชับเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคภายในบ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นล้างมือบ่อยๆ และการดำเนินการตามมาตรการรักษ
  3. การลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค การดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยมีการสื่อสารทุกช่องทาง ทุกสื่อที่หลากหลายและดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง
  4. ติดตาม ทบทวน เฝ้าสังเกตการณ์การดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และตื่นตัวในการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและตื่นตัว ตลอดจนมีการกำหนดแผน การกำหนดความพร้อมด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องของแนวทางการปฏิบัติ วัสดุอุปกรณ์ใน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและสามารถปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของบุคลากรสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด ทำให้สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคได้
  2. ชุมชนมีการดำเนินงานเฝ้าระวังและดำเนินการตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคโดยทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมทั้งหน่วยงานด้านสาธารณสุข มหาดไทย องค์กรอื่นๆ และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส (โควิด-19) โดยมีมาตรการการควบคุมป้องกันโรคทางระบาดวิทยาที่มีมาตรฐานและมาตรการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 การลงพื้นที่เพื่อเคาะประตูบ้าน คัดกรอง และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากพื้นที่เกิดการระบาด ติดตามสังเกตอาการ กำชับเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคภายในบ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นล้างมือบ่อยๆ และการดำเนินการตามมาตรการรักษาระยะห่าง (Social Distancing)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 การลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค การดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยมีการสื่อสารทุกช่องทาง ทุกสื่อที่หลากหลายและดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 ติดตาม ทบทวน เฝ้าสังเกตการณ์การดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และตื่นตัวในการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและตื่นตัว ตลอดจนมีการกำหนดแผน การกำหนดความพร้อมด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องของแนวทางการปฏิบัติ วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ข้อมูลทางวิชาการให้มีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส (โควิด-19) โดยมีมาตรการการควบคุมป้องกันโรคทางระบาดวิทยาที่มีมาตรฐานและมาตรการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ (2) การลงพื้นที่เพื่อเคาะประตูบ้าน คัดกรอง และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากพื้นที่เกิดการระบาด ติดตามสังเกตอาการ กำชับเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคภายในบ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นล้างมือบ่อยๆ และการดำเนินการตามมาตรการรักษาระยะห่าง (Social Distancing) (3) การลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค การดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยมีการสื่อสารทุกช่องทาง ทุกสื่อที่หลากหลายและดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (4) ติดตาม ทบทวน เฝ้าสังเกตการณ์การดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และตื่นตัวในการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและตื่นตัว ตลอดจนมีการกำหนดแผน การกำหนดความพร้อมด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องของแนวทางการปฏิบัติ วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ข้อมูลทางวิชาการให้มีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังและการควบคุมป้องกันโรคตามหลักระบาดวิทยา และมาตรการที่กำหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข ทั้งในเรื่องการสื่อสารการเฝ้าระวังการป้องกันโรคและดำเนินการตามมาตรการทางปฏิบัติที่จะควบคุมการแพร่ระบาดของโรค (2) การลงพื้นที่เพื่อเคาะประตูบ้าน คัดกรอง และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางจากพื้นที่เกิดการระบาด ติดตามสังเกตอาการ กำชับเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคภายในบ้าน การใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นล้างมือบ่อยๆ และการดำเนินการตามมาตรการรักษ (3) การลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค การดำเนินการตามมาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค โดยมีการสื่อสารทุกช่องทาง ทุกสื่อที่หลากหลายและดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง (4) ติดตาม ทบทวน เฝ้าสังเกตการณ์การดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และตื่นตัวในการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ เกิดความเข้าใจและตื่นตัว ตลอดจนมีการกำหนดแผน การกำหนดความพร้อมด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องของแนวทางการปฏิบัติ วัสดุอุปกรณ์ใน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8423-05-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด