โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางผุสดี จันทร์มี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง
มีนาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L7580-5-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
บทคัดย่อ
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 14 ของประเทศไทย โดยเกิดจากเชื้อไวรัสนี้มีชื่อเฉพาะว่า 2019-nCoV ในสมาชิกลำดับที่ 7 ในตระกูล coronaviruses lineage B, จีนัส betacoronavirus , เชื้อมีลำดับยีนมากกว่าร้อยละ 85 ที่เหมือนกับยีโนมของเชื้อ SARS-like CoV ในค้างคาว (bat-SL-CoVZC45, MG772933.1) การก่อ โรคใน มนุษย์จากเชื้อโรคในค้างคาวถือว่า เป็น zoonotic disease ด้วย รายงานการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศจีน โดยเริ่มจากการพบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่ไม่รู้สาเหตุในเมืองอู่ฮั่นเพิ่มขึ้น และต่อมาได้ทราบว่ามีสาเหตุจากเชื้อไวรัส COVID-19 ที่แพร่จากคนสู่คน วันที่ 11 มกราคม 2563 ผลการตรวจเชื้อไวรัสในระดับรหัสสารพันธุกรรม ระบุว่าเป็น เชื้อไวรัส COVID-19 แม้จะยังไม่มีรายงานสรุปอย่างเป็นทางการ คาดว่าน่าจะมีความเกี่ยวข้องกันกับสัตว์ 2 ชนิด คือ งูเห่า และค้างคาวชนิดหนึ่ง” โดยมีจุดเริ่มต้นของผู้ติดเชื้อ เกิดจากคนงานและลูกค้าของตลาดขายส่งอาหารทะเล และเนื้อสัตว์แปลกๆ หายาก ที่ถูกจับมาขายในตลาดสดในสภาพที่ยังเป็นๆ สัตว์เหล่านี้มีเชื้อไวรัสถูกขังเกิดความเครียดล้มป่วย และมีการติดเชื้อข้ามไปยังสัตว์อีกสายพันธุ์ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อนำไปบริโภคและติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกาย อาการคล้ายเป็นไข้หวัด มีน้ำมูกไหล ไอจาม ธรรมดา แต่แตกต่างตรงที่เมื่อถึงระยะหนึ่งปอดจะเกิดการอักเสบอย่างรุนแรง ยาลดไข้ทั่วไปไม่สามารถรักษาได้ทันเวลา หากไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ ก็จะกลายเป็นพาหะแพร่ระบาดไปสู่คนอื่นๆ โดยการไอจามรดกัน สัมผัสสารคัดหลั่ง น้ำมูก น้ำลาย น้ำตา ฯลฯ จนทำให้เกิดการป่วยและอาจเสียชีวิตได้ (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563), (Chee Kin, 2020)
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ลงวันที่ 2 มีนาคม 2563 เวลา 18.30 น. พบมีการแพร่ระบาด 47 ประเทศใน 3 ทวีปทั่วโลก พบผู้ป่วยทั่วโลกทั้งหมด 81,259 คน รักษาหายแล้ว 33,085 คน เสียชีวิต 2,770 คน อัตราตายร้อยละ 3 ของผู้ป่วยทั้งหมด ประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและควรงดเดินทางในช่วงนี้เด็ดขาด ประกอบด้วย จีน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน ซึ่งกลุ่มนี้เป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดจากคนสู่คนอย่างชัดเจน โดยสถานการณ์ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ทั้งหมด 43 ราย รักษาหายแล้ว 31 ราย เสียชีวิต 1 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาล 11 ราย (กรมควบคุมโรค,2563) และมีแนวโน้มที่โรคจะแพร่กระจายมากขึ้น สำหรับจังหวัดสตูล จัดว่าเป็นพื้นที่เสี่ยงเพราะเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้สัญจรทั้งคนไทยและต่างประเทศไปมาจำนวนมาก แต่จากการรายงานยังไม่พบผู้ป่วยโรคดังกล่าว แต่ให้ดำเนินการเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสี่ยงทั้ง 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ที่มีโรคประจำตัวด้วยระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการรักษาด้วยคีโม ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเด็กเล็ก กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมาก อีกทั้งนโยบายของรัฐบาลให้เร่งรัดดำเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันอย่างเร่งด่วน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนทั้ง 4 ชุมชนและเทศบาลตำบลฉลุง จึงได้ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวและมีมติให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลเป็นผู้ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง และแจ้งเบาะแสในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็งในการป้องกันโรค ประชาชนมีความรู้และทักษะในการป้องกันโรค และไม่เกิดโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 14 ของประเทศไทย โดยเกิดจากเชื้อไวรัสนี้มีชื่อเฉพาะว่า 2019-nCoV ในสมาชิกลำดับที่ 7 ในตระกูล coronaviruses lineage B, จีนัส betacoronavirus , เชื้อมีลำดับยีนมากกว่าร้อยละ 85 ที่เหมือนกับยีโนมของเชื้อ SARS-like CoV ในค้างคาว (bat-SL-CoVZC45, MG772933.1) การก่อ โรคใน มนุษย์จากเชื้อโรคในค้างคาวถือว่า เป็น zoonotic disease ด้วย รายงานการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศจีน โดยเริ่มจากการพบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่ไม่รู้สาเหตุในเมืองอู่ฮั่นเพิ่มขึ้น และต่อมาได้ทราบว่ามีสาเหตุจากเชื้อไวรัส COVID-19 ที่แพร่จากคนสู่คน วันที่ 11 มกราคม 2563 ผลการตรวจเชื้อไวรัสในระดับรหัสสารพันธุกรรม ระบุว่าเป็น เชื้อไวรัส COVID-19 แม้จะยังไม่มีรายงานสรุปอย่างเป็นทางการ คาดว่าน่าจะมีความเกี่ยวข้องกันกับสัตว์ 2 ชนิด คือ งูเห่า และค้างคาวชนิดหนึ่ง” โดยมีจุดเริ่มต้นของผู้ติดเชื้อ เกิดจากคนงานและลูกค้าของตลาดขายส่งอาหารทะเล และเนื้อสัตว์แปลกๆ หายาก ที่ถูกจับมาขายในตลาดสดในสภาพที่ยังเป็นๆ สัตว์เหล่านี้มีเชื้อไวรัสถูกขังเกิดความเครียดล้มป่วย และมีการติดเชื้อข้ามไปยังสัตว์อีกสายพันธุ์ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อนำไปบริโภคและติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกาย อาการคล้ายเป็นไข้หวัด มีน้ำมูกไหล ไอจาม ธรรมดา แต่แตกต่างตรงที่เมื่อถึงระยะหนึ่งปอดจะเกิดการอักเสบอย่างรุนแรง ยาลดไข้ทั่วไปไม่สามารถรักษาได้ทันเวลา หากไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ ก็จะกลายเป็นพาหะแพร่ระบาดไปสู่คนอื่นๆ โดยการไอจามรดกัน สัมผัสสารคัดหลั่ง น้ำมูก น้ำลาย น้ำตา ฯลฯ จนทำให้เกิดการป่วยและอาจเสียชีวิตได้ (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563), (Chee Kin, 2020)
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ลงวันที่ 2 มีนาคม 2563 เวลา 18.30 น. พบมีการแพร่ระบาด 47 ประเทศใน 3 ทวีปทั่วโลก พบผู้ป่วยทั่วโลกทั้งหมด 81,259 คน รักษาหายแล้ว 33,085 คน เสียชีวิต 2,770 คน อัตราตายร้อยละ 3 ของผู้ป่วยทั้งหมด ประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและควรงดเดินทางในช่วงนี้เด็ดขาด ประกอบด้วย จีน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน ซึ่งกลุ่มนี้เป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดจากคนสู่คนอย่างชัดเจน โดยสถานการณ์ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ทั้งหมด 43 ราย รักษาหายแล้ว 31 ราย เสียชีวิต 1 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาล 11 ราย (กรมควบคุมโรค,2563) และมีแนวโน้มที่โรคจะแพร่กระจายมากขึ้น สำหรับจังหวัดสตูล จัดว่าเป็นพื้นที่เสี่ยงเพราะเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้สัญจรทั้งคนไทยและต่างประเทศไปมาจำนวนมาก แต่จากการรายงานยังไม่พบผู้ป่วยโรคดังกล่าว แต่ให้ดำเนินการเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสี่ยงทั้ง 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ที่มีโรคประจำตัวด้วยระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการรักษาด้วยคีโม ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเด็กเล็ก กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมาก อีกทั้งนโยบายของรัฐบาลให้เร่งรัดดำเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันอย่างเร่งด่วน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนทั้ง 4 ชุมชนและเทศบาลตำบลฉลุง จึงได้ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวและมีมติให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลเป็นผู้ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง และแจ้งเบาะแสในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็งในการป้องกันโรค ประชาชนมีความรู้และทักษะในการป้องกันโรค และไม่เกิดโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง
- เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
- รณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) แก่ประชาชนในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเองได้
- ทำให้ประชาชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
วันที่ 18 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการประเมินความรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน และผู้สูงอายุ ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้
ก่อนการอบรม หลังการอบรม
คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ
7 6 4.41 8 20 14.71
8 45 33.09 9 50 36.77
9 35 25.74 10 66 48.52
10 50 36.76
รวม 136 100 รวม 136 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 7-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 25.74 คะแนน น้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.41 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.77 คะแนน น้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.71 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อละ 95.59 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.41
136
0
2. อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
วันที่ 18 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โดยวิทยากรได้สอนวิธีการทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน ซึ่งวิทยากรได้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขฝึกปฏิบัติ จากการสังเกตพบว่า ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ทั้ง 4 ชุมชน มีความสนใจในวิธีการทำหน้ากากอนามัยเป็นอย่างดี และสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี โดยสามารถทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองได้
136
0
3. รณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) แก่ประชาชนในชุมชน
วันที่ 18 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
รณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) แก่ประชาชนในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขได้ลงพื้นที่เคาะประตูบ้านครัวเรือนที่รับผิดชอบ โดยการแจกใบความรู้และแจกชุดตัวอย่างป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้แก่ประชาชน จากการสังเกตพบว่าประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือ โดยส่วนใหญ่สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือทุกครั้งเมื่อไปสัมผัสกับสิ่งของต่าง ๆ และปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันเป็นอย่างดี ซึ่งสามารถป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าวได้อย่างถูกวิธี จึงทำให้เห็นได้ว่าประชาชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคดังกล่าวเป็นอย่างมากและวิธีการป้องกันตนเองได้ถูกต้องร้อยละ 70
136
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ในการจัดทำโครงการดังกล่าว ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน คือกลุ่มวัยทำงาน จำนวน 90 คน และกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 40 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 136 คน คิดเป็นร้อยละ 104.61
1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) โดยวิทยากรได้ให้ความรู้การเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)เริ่มพบที่เมืองอู่อั้น มณฑลหูเป่ยเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2562 หลังจากการสอบสวนโรคและการตรวจสอบย้อนหลังอาจมีผู้ติดเชื้อครั้งแรกประมาณวันที่ 8 ธันวาคม 2562 เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจส่งผลให้เกิดโรคปอดอักเสบ
1)อาการและการแสดงออกของโรค
-มีไข้สูงถึง 37.5 องศ์สาเซลเซียส
-มีอาการไอหรือเจ็บคอ
-เมื่อยเนื้อเมื่อยตัว
-ปวดศรีษะ
-น้ำมูกไหลคัดจมูก
-หอบเหนื่อยแน่นหน้าอก
-ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
2)ระยะฟักตัวของโรค
-โรคจะฟักตัวได้ 2-14 วัน แพร่โรคได้เมื่อมีอาการและอาการแสดงแล้วเท่านั้น
3)ช่องทางการแพร่โรค
-รูปแบบการแพร่ระบาดจากคนสู่คน ละอองฝอยน้ำมูกน้ำลายเป็นช่องทางหลัก
-เชื้อขับออกทางอุจจาระได้ 9-14 วัน
-การขยี้ตา เชื้อผ่านเยื่อบุตาสัมผัสใบหน้าและปาก
4)เชื้อไวรัสอยู่ได้นานแค่ไหน
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่ในละอองน้ำมูก เสมหะ น้ำลาย น้ำตา สารคัดหลั่งต่าง ๆ ไวรัสจะมีชีวิตอยู่ในอากาศได้นาน 5 นาที
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่บนวัสดุ เช่น ลูกบิดประตู ที่จับบนรถไฟฟ้า ราวบันได จะมีอายุอยู่ได้นาน 7-8 ชั่วโมง
-ถ้าไวรัสอยู่บนเสื้อผ้า กระดาษทิชชู่ หรือผ้าเช็ดหน้าจะมีอายุอยู่ได้ถึง 8-12 ชั่วโมง
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่บนโต๊ะพื้นผิวเรียบจะมีชิวิตอยู่ได้ 24-48 ชั่วโมง
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่ในน้ำจะอยู่ได้นาน 4 วัน
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่ในตู้เย็นที่อุณหภูมิต่ำกว่า 4 องศาเซลเซียส อาจมีชีวิตอยู่ได้ถึง 1 เดือน
5)วิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มีดังนี้
-ล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอออล์ เทคนิคการล้างมือให้ห่างไกลจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มี 7 ขั้นตอน 1)เริ่มล้างมือด้วยน้ำหรือสบู่โดยใช้ฝ่ามือถูกัน 2)ใช้ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว 3)ใช้ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว 4)ใช้หลังนิ้วมือถูฝ่ามือ 5)ใช้ฝ่ามือถูนิ้วหัวแม่มือโดยรอบ 6)ใช้ปลายนิ้วมือถูขวางขวามือ 7)ใช้ฝ่ามือถูรอบข้อมือ
-สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกจากบ้าน
-หลีกเลี่ยงการสัมผัสใบหน้า เพื่อลดโอกาสการนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายผ่านทางตา จมูกและปาก
-ปิดฝ่าชักโครกทุกครั้งเมื่อกดล้าง เพื่อลดโอกาสฟุ้งกระจายของไวรัส ซึ่งถูกขับออกทางอุจจาระได้
-ไอ จาม ในคอเสื้อหรือแขนพับ หลีกเลี่ยงการใช้มือป้องปากและจมูกถ้าใช้มือป้องปากและจมูกต้องล้างมือให้สะอาดทุกครัง
-หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่ที่มีผู้คนหนาแน่น เช่น โรงภาพยนตร์ ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
-ควรฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ เพื่อลดโอกาสการป่วย
-หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่มีอาการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจหรือคล้ายอาการไข้หวัด
-กินอาหารที่ปรุงสุกใหม่ด้วยความร้อน
-หลีกเลี่ยงการใช้ของใช้ร่วมกัน เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แก้วน้ำ
-ใช้ช้อนกลาง หรือช้อนคนละคัน เมื่อรับประทานอาหารร่วมกัน
จากการประเมินความรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน และผู้สูงอายุ ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้
ก่อนการอบรม หลังการอบรม
คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ
7 6 4.41 8 20 14.71
8 45 33.09 9 50 36.77
9 35 25.74 10 66 48.52
10 50 36.76
รวม 136 100 รวม 136 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 7-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 25.74 คะแนน น้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.41 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.77 คะแนน น้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.71 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อละ 95.59 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.41
-จึงสรุปได้ว่าสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง โดยวิทยากรได้สอนวิธีการทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน ซึ่งวิทยากรได้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขฝึกปฏิบัติ จากการสังเกตพบว่า ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ทั้ง 4 ชุมชน มีความสนใจในวิธีการทำหน้ากากอนามัยเป็นอย่างดี และสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี โดยสามารถทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองได้
-จึงสรุปได้ว่าสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2
1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา2019 (COVID 19) และวิธีป้องกันที่ถูกต้อง ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขได้ลงพื้นที่เคาะประตูบ้านครัวเรือนที่รับผิดชอบ โดยการแจกใบความรู้และแจกชุดตัวอย่างป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้แก่ประชาชน จากการสังเกตพบว่าประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือ โดยส่วนใหญ่สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือทุกครั้งเมื่อไปสัมผัสกับสิ่งของต่าง ๆ และปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันเป็นอย่างดี ซึ่งสามารถป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าวได้อย่างถูกวิธี จึงทำให้เห็นได้ว่าประชาชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคดังกล่าวเป็นอย่างมากและวิธีการป้องกันตนเองได้ถูกต้องร้อยละ 70
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ที่ถูกต้อง
ร้อยละ 80
0.00
80.00
2
เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง
0.00
0.00
3
เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง ร้อยละ 70
0.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
130
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
90
90
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 14 ของประเทศไทย โดยเกิดจากเชื้อไวรัสนี้มีชื่อเฉพาะว่า 2019-nCoV ในสมาชิกลำดับที่ 7 ในตระกูล coronaviruses lineage B, จีนัส betacoronavirus , เชื้อมีลำดับยีนมากกว่าร้อยละ 85 ที่เหมือนกับยีโนมของเชื้อ SARS-like CoV ในค้างคาว (bat-SL-CoVZC45, MG772933.1) การก่อ โรคใน มนุษย์จากเชื้อโรคในค้างคาวถือว่า เป็น zoonotic disease ด้วย รายงานการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศจีน โดยเริ่มจากการพบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่ไม่รู้สาเหตุในเมืองอู่ฮั่นเพิ่มขึ้น และต่อมาได้ทราบว่ามีสาเหตุจากเชื้อไวรัส COVID-19 ที่แพร่จากคนสู่คน วันที่ 11 มกราคม 2563 ผลการตรวจเชื้อไวรัสในระดับรหัสสารพันธุกรรม ระบุว่าเป็น เชื้อไวรัส COVID-19 แม้จะยังไม่มีรายงานสรุปอย่างเป็นทางการ คาดว่าน่าจะมีความเกี่ยวข้องกันกับสัตว์ 2 ชนิด คือ งูเห่า และค้างคาวชนิดหนึ่ง” โดยมีจุดเริ่มต้นของผู้ติดเชื้อ เกิดจากคนงานและลูกค้าของตลาดขายส่งอาหารทะเล และเนื้อสัตว์แปลกๆ หายาก ที่ถูกจับมาขายในตลาดสดในสภาพที่ยังเป็นๆ สัตว์เหล่านี้มีเชื้อไวรัสถูกขังเกิดความเครียดล้มป่วย และมีการติดเชื้อข้ามไปยังสัตว์อีกสายพันธุ์ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อนำไปบริโภคและติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกาย อาการคล้ายเป็นไข้หวัด มีน้ำมูกไหล ไอจาม ธรรมดา แต่แตกต่างตรงที่เมื่อถึงระยะหนึ่งปอดจะเกิดการอักเสบอย่างรุนแรง ยาลดไข้ทั่วไปไม่สามารถรักษาได้ทันเวลา หากไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ ก็จะกลายเป็นพาหะแพร่ระบาดไปสู่คนอื่นๆ โดยการไอจามรดกัน สัมผัสสารคัดหลั่ง น้ำมูก น้ำลาย น้ำตา ฯลฯ จนทำให้เกิดการป่วยและอาจเสียชีวิตได้ (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563), (Chee Kin, 2020)
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ลงวันที่ 2 มีนาคม 2563 เวลา 18.30 น. พบมีการแพร่ระบาด 47 ประเทศใน 3 ทวีปทั่วโลก พบผู้ป่วยทั่วโลกทั้งหมด 81,259 คน รักษาหายแล้ว 33,085 คน เสียชีวิต 2,770 คน อัตราตายร้อยละ 3 ของผู้ป่วยทั้งหมด ประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและควรงดเดินทางในช่วงนี้เด็ดขาด ประกอบด้วย จีน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน ซึ่งกลุ่มนี้เป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดจากคนสู่คนอย่างชัดเจน โดยสถานการณ์ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ทั้งหมด 43 ราย รักษาหายแล้ว 31 ราย เสียชีวิต 1 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาล 11 ราย (กรมควบคุมโรค,2563) และมีแนวโน้มที่โรคจะแพร่กระจายมากขึ้น สำหรับจังหวัดสตูล จัดว่าเป็นพื้นที่เสี่ยงเพราะเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้สัญจรทั้งคนไทยและต่างประเทศไปมาจำนวนมาก แต่จากการรายงานยังไม่พบผู้ป่วยโรคดังกล่าว แต่ให้ดำเนินการเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสี่ยงทั้ง 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ที่มีโรคประจำตัวด้วยระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการรักษาด้วยคีโม ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเด็กเล็ก กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมาก อีกทั้งนโยบายของรัฐบาลให้เร่งรัดดำเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันอย่างเร่งด่วน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนทั้ง 4 ชุมชนและเทศบาลตำบลฉลุง จึงได้ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวและมีมติให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลเป็นผู้ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง และแจ้งเบาะแสในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็งในการป้องกันโรค ประชาชนมีความรู้และทักษะในการป้องกันโรค และไม่เกิดโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
รหัสโครงการ 63-L7580-5-01 ระยะเวลาโครงการ 9 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L7580-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางผุสดี จันทร์มี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางผุสดี จันทร์มี
มีนาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L7580-5-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
บทคัดย่อ
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 14 ของประเทศไทย โดยเกิดจากเชื้อไวรัสนี้มีชื่อเฉพาะว่า 2019-nCoV ในสมาชิกลำดับที่ 7 ในตระกูล coronaviruses lineage B, จีนัส betacoronavirus , เชื้อมีลำดับยีนมากกว่าร้อยละ 85 ที่เหมือนกับยีโนมของเชื้อ SARS-like CoV ในค้างคาว (bat-SL-CoVZC45, MG772933.1) การก่อ โรคใน มนุษย์จากเชื้อโรคในค้างคาวถือว่า เป็น zoonotic disease ด้วย รายงานการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศจีน โดยเริ่มจากการพบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่ไม่รู้สาเหตุในเมืองอู่ฮั่นเพิ่มขึ้น และต่อมาได้ทราบว่ามีสาเหตุจากเชื้อไวรัส COVID-19 ที่แพร่จากคนสู่คน วันที่ 11 มกราคม 2563 ผลการตรวจเชื้อไวรัสในระดับรหัสสารพันธุกรรม ระบุว่าเป็น เชื้อไวรัส COVID-19 แม้จะยังไม่มีรายงานสรุปอย่างเป็นทางการ คาดว่าน่าจะมีความเกี่ยวข้องกันกับสัตว์ 2 ชนิด คือ งูเห่า และค้างคาวชนิดหนึ่ง” โดยมีจุดเริ่มต้นของผู้ติดเชื้อ เกิดจากคนงานและลูกค้าของตลาดขายส่งอาหารทะเล และเนื้อสัตว์แปลกๆ หายาก ที่ถูกจับมาขายในตลาดสดในสภาพที่ยังเป็นๆ สัตว์เหล่านี้มีเชื้อไวรัสถูกขังเกิดความเครียดล้มป่วย และมีการติดเชื้อข้ามไปยังสัตว์อีกสายพันธุ์ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อนำไปบริโภคและติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกาย อาการคล้ายเป็นไข้หวัด มีน้ำมูกไหล ไอจาม ธรรมดา แต่แตกต่างตรงที่เมื่อถึงระยะหนึ่งปอดจะเกิดการอักเสบอย่างรุนแรง ยาลดไข้ทั่วไปไม่สามารถรักษาได้ทันเวลา หากไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ ก็จะกลายเป็นพาหะแพร่ระบาดไปสู่คนอื่นๆ โดยการไอจามรดกัน สัมผัสสารคัดหลั่ง น้ำมูก น้ำลาย น้ำตา ฯลฯ จนทำให้เกิดการป่วยและอาจเสียชีวิตได้ (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563), (Chee Kin, 2020)
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ลงวันที่ 2 มีนาคม 2563 เวลา 18.30 น. พบมีการแพร่ระบาด 47 ประเทศใน 3 ทวีปทั่วโลก พบผู้ป่วยทั่วโลกทั้งหมด 81,259 คน รักษาหายแล้ว 33,085 คน เสียชีวิต 2,770 คน อัตราตายร้อยละ 3 ของผู้ป่วยทั้งหมด ประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและควรงดเดินทางในช่วงนี้เด็ดขาด ประกอบด้วย จีน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน ซึ่งกลุ่มนี้เป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดจากคนสู่คนอย่างชัดเจน โดยสถานการณ์ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ทั้งหมด 43 ราย รักษาหายแล้ว 31 ราย เสียชีวิต 1 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาล 11 ราย (กรมควบคุมโรค,2563) และมีแนวโน้มที่โรคจะแพร่กระจายมากขึ้น สำหรับจังหวัดสตูล จัดว่าเป็นพื้นที่เสี่ยงเพราะเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้สัญจรทั้งคนไทยและต่างประเทศไปมาจำนวนมาก แต่จากการรายงานยังไม่พบผู้ป่วยโรคดังกล่าว แต่ให้ดำเนินการเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสี่ยงทั้ง 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ที่มีโรคประจำตัวด้วยระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการรักษาด้วยคีโม ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเด็กเล็ก กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมาก อีกทั้งนโยบายของรัฐบาลให้เร่งรัดดำเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันอย่างเร่งด่วน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนทั้ง 4 ชุมชนและเทศบาลตำบลฉลุง จึงได้ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวและมีมติให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลเป็นผู้ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง และแจ้งเบาะแสในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็งในการป้องกันโรค ประชาชนมีความรู้และทักษะในการป้องกันโรค และไม่เกิดโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 14 ของประเทศไทย โดยเกิดจากเชื้อไวรัสนี้มีชื่อเฉพาะว่า 2019-nCoV ในสมาชิกลำดับที่ 7 ในตระกูล coronaviruses lineage B, จีนัส betacoronavirus , เชื้อมีลำดับยีนมากกว่าร้อยละ 85 ที่เหมือนกับยีโนมของเชื้อ SARS-like CoV ในค้างคาว (bat-SL-CoVZC45, MG772933.1) การก่อ โรคใน มนุษย์จากเชื้อโรคในค้างคาวถือว่า เป็น zoonotic disease ด้วย รายงานการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศจีน โดยเริ่มจากการพบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่ไม่รู้สาเหตุในเมืองอู่ฮั่นเพิ่มขึ้น และต่อมาได้ทราบว่ามีสาเหตุจากเชื้อไวรัส COVID-19 ที่แพร่จากคนสู่คน วันที่ 11 มกราคม 2563 ผลการตรวจเชื้อไวรัสในระดับรหัสสารพันธุกรรม ระบุว่าเป็น เชื้อไวรัส COVID-19 แม้จะยังไม่มีรายงานสรุปอย่างเป็นทางการ คาดว่าน่าจะมีความเกี่ยวข้องกันกับสัตว์ 2 ชนิด คือ งูเห่า และค้างคาวชนิดหนึ่ง” โดยมีจุดเริ่มต้นของผู้ติดเชื้อ เกิดจากคนงานและลูกค้าของตลาดขายส่งอาหารทะเล และเนื้อสัตว์แปลกๆ หายาก ที่ถูกจับมาขายในตลาดสดในสภาพที่ยังเป็นๆ สัตว์เหล่านี้มีเชื้อไวรัสถูกขังเกิดความเครียดล้มป่วย และมีการติดเชื้อข้ามไปยังสัตว์อีกสายพันธุ์ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อนำไปบริโภคและติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกาย อาการคล้ายเป็นไข้หวัด มีน้ำมูกไหล ไอจาม ธรรมดา แต่แตกต่างตรงที่เมื่อถึงระยะหนึ่งปอดจะเกิดการอักเสบอย่างรุนแรง ยาลดไข้ทั่วไปไม่สามารถรักษาได้ทันเวลา หากไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ ก็จะกลายเป็นพาหะแพร่ระบาดไปสู่คนอื่นๆ โดยการไอจามรดกัน สัมผัสสารคัดหลั่ง น้ำมูก น้ำลาย น้ำตา ฯลฯ จนทำให้เกิดการป่วยและอาจเสียชีวิตได้ (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563), (Chee Kin, 2020)
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ลงวันที่ 2 มีนาคม 2563 เวลา 18.30 น. พบมีการแพร่ระบาด 47 ประเทศใน 3 ทวีปทั่วโลก พบผู้ป่วยทั่วโลกทั้งหมด 81,259 คน รักษาหายแล้ว 33,085 คน เสียชีวิต 2,770 คน อัตราตายร้อยละ 3 ของผู้ป่วยทั้งหมด ประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและควรงดเดินทางในช่วงนี้เด็ดขาด ประกอบด้วย จีน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน ซึ่งกลุ่มนี้เป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดจากคนสู่คนอย่างชัดเจน โดยสถานการณ์ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ทั้งหมด 43 ราย รักษาหายแล้ว 31 ราย เสียชีวิต 1 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาล 11 ราย (กรมควบคุมโรค,2563) และมีแนวโน้มที่โรคจะแพร่กระจายมากขึ้น สำหรับจังหวัดสตูล จัดว่าเป็นพื้นที่เสี่ยงเพราะเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้สัญจรทั้งคนไทยและต่างประเทศไปมาจำนวนมาก แต่จากการรายงานยังไม่พบผู้ป่วยโรคดังกล่าว แต่ให้ดำเนินการเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสี่ยงทั้ง 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ที่มีโรคประจำตัวด้วยระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการรักษาด้วยคีโม ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเด็กเล็ก กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมาก อีกทั้งนโยบายของรัฐบาลให้เร่งรัดดำเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันอย่างเร่งด่วน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนทั้ง 4 ชุมชนและเทศบาลตำบลฉลุง จึงได้ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวและมีมติให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลเป็นผู้ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง และแจ้งเบาะแสในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็งในการป้องกันโรค ประชาชนมีความรู้และทักษะในการป้องกันโรค และไม่เกิดโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง
- เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
- รณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) แก่ประชาชนในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)
- ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเองได้
- ทำให้ประชาชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) |
||
วันที่ 18 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินความรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน และผู้สูงอายุ ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 7-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 25.74 คะแนน น้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.41 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.77 คะแนน น้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.71 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อละ 95.59 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.41
|
136 | 0 |
2. อบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง |
||
วันที่ 18 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโดยวิทยากรได้สอนวิธีการทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน ซึ่งวิทยากรได้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขฝึกปฏิบัติ จากการสังเกตพบว่า ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ทั้ง 4 ชุมชน มีความสนใจในวิธีการทำหน้ากากอนามัยเป็นอย่างดี และสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี โดยสามารถทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองได้
|
136 | 0 |
3. รณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) แก่ประชาชนในชุมชน |
||
วันที่ 18 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) แก่ประชาชนในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขได้ลงพื้นที่เคาะประตูบ้านครัวเรือนที่รับผิดชอบ โดยการแจกใบความรู้และแจกชุดตัวอย่างป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้แก่ประชาชน จากการสังเกตพบว่าประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือ โดยส่วนใหญ่สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือทุกครั้งเมื่อไปสัมผัสกับสิ่งของต่าง ๆ และปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันเป็นอย่างดี ซึ่งสามารถป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าวได้อย่างถูกวิธี จึงทำให้เห็นได้ว่าประชาชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคดังกล่าวเป็นอย่างมากและวิธีการป้องกันตนเองได้ถูกต้องร้อยละ 70
|
136 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ในการจัดทำโครงการดังกล่าว ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน คือกลุ่มวัยทำงาน จำนวน 90 คน และกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 40 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 136 คน คิดเป็นร้อยละ 104.61
1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) โดยวิทยากรได้ให้ความรู้การเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)เริ่มพบที่เมืองอู่อั้น มณฑลหูเป่ยเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2562 หลังจากการสอบสวนโรคและการตรวจสอบย้อนหลังอาจมีผู้ติดเชื้อครั้งแรกประมาณวันที่ 8 ธันวาคม 2562 เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจส่งผลให้เกิดโรคปอดอักเสบ
1)อาการและการแสดงออกของโรค
-มีไข้สูงถึง 37.5 องศ์สาเซลเซียส
-มีอาการไอหรือเจ็บคอ
-เมื่อยเนื้อเมื่อยตัว
-ปวดศรีษะ
-น้ำมูกไหลคัดจมูก
-หอบเหนื่อยแน่นหน้าอก
-ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
2)ระยะฟักตัวของโรค
-โรคจะฟักตัวได้ 2-14 วัน แพร่โรคได้เมื่อมีอาการและอาการแสดงแล้วเท่านั้น
3)ช่องทางการแพร่โรค
-รูปแบบการแพร่ระบาดจากคนสู่คน ละอองฝอยน้ำมูกน้ำลายเป็นช่องทางหลัก
-เชื้อขับออกทางอุจจาระได้ 9-14 วัน
-การขยี้ตา เชื้อผ่านเยื่อบุตาสัมผัสใบหน้าและปาก
4)เชื้อไวรัสอยู่ได้นานแค่ไหน
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่ในละอองน้ำมูก เสมหะ น้ำลาย น้ำตา สารคัดหลั่งต่าง ๆ ไวรัสจะมีชีวิตอยู่ในอากาศได้นาน 5 นาที
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่บนวัสดุ เช่น ลูกบิดประตู ที่จับบนรถไฟฟ้า ราวบันได จะมีอายุอยู่ได้นาน 7-8 ชั่วโมง
-ถ้าไวรัสอยู่บนเสื้อผ้า กระดาษทิชชู่ หรือผ้าเช็ดหน้าจะมีอายุอยู่ได้ถึง 8-12 ชั่วโมง
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่บนโต๊ะพื้นผิวเรียบจะมีชิวิตอยู่ได้ 24-48 ชั่วโมง
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่ในน้ำจะอยู่ได้นาน 4 วัน
-ถ้าเชื้อไวรัสอยู่ในตู้เย็นที่อุณหภูมิต่ำกว่า 4 องศาเซลเซียส อาจมีชีวิตอยู่ได้ถึง 1 เดือน
5)วิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มีดังนี้
-ล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอออล์ เทคนิคการล้างมือให้ห่างไกลจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มี 7 ขั้นตอน 1)เริ่มล้างมือด้วยน้ำหรือสบู่โดยใช้ฝ่ามือถูกัน 2)ใช้ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว 3)ใช้ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว 4)ใช้หลังนิ้วมือถูฝ่ามือ 5)ใช้ฝ่ามือถูนิ้วหัวแม่มือโดยรอบ 6)ใช้ปลายนิ้วมือถูขวางขวามือ 7)ใช้ฝ่ามือถูรอบข้อมือ
-สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกจากบ้าน
-หลีกเลี่ยงการสัมผัสใบหน้า เพื่อลดโอกาสการนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายผ่านทางตา จมูกและปาก
-ปิดฝ่าชักโครกทุกครั้งเมื่อกดล้าง เพื่อลดโอกาสฟุ้งกระจายของไวรัส ซึ่งถูกขับออกทางอุจจาระได้
-ไอ จาม ในคอเสื้อหรือแขนพับ หลีกเลี่ยงการใช้มือป้องปากและจมูกถ้าใช้มือป้องปากและจมูกต้องล้างมือให้สะอาดทุกครัง
-หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่ที่มีผู้คนหนาแน่น เช่น โรงภาพยนตร์ ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
-ควรฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ เพื่อลดโอกาสการป่วย
-หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่มีอาการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจหรือคล้ายอาการไข้หวัด
-กินอาหารที่ปรุงสุกใหม่ด้วยความร้อน
-หลีกเลี่ยงการใช้ของใช้ร่วมกัน เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แก้วน้ำ
-ใช้ช้อนกลาง หรือช้อนคนละคัน เมื่อรับประทานอาหารร่วมกัน
จากการประเมินความรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน และผู้สูงอายุ ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้การเฝ้าระวัง การควบคุมและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้
ก่อนการอบรม หลังการอบรม
คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ
7 6 4.41 8 20 14.71
8 45 33.09 9 50 36.77
9 35 25.74 10 66 48.52
10 50 36.76
รวม 136 100 รวม 136 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 7-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 25.74 คะแนน น้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 4.41 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76 หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 36.77 คะแนน น้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.71 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 48.52 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 130 คน คิดเป็นร้อละ 95.59 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.41
-จึงสรุปได้ว่าสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง โดยวิทยากรได้สอนวิธีการทำหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 4 ชุมชน ซึ่งวิทยากรได้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขฝึกปฏิบัติ จากการสังเกตพบว่า ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ทั้ง 4 ชุมชน มีความสนใจในวิธีการทำหน้ากากอนามัยเป็นอย่างดี และสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี โดยสามารถทำหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองได้
-จึงสรุปได้ว่าสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2
1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา2019 (COVID 19) และวิธีป้องกันที่ถูกต้อง ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขได้ลงพื้นที่เคาะประตูบ้านครัวเรือนที่รับผิดชอบ โดยการแจกใบความรู้และแจกชุดตัวอย่างป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้แก่ประชาชน จากการสังเกตพบว่าประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือ โดยส่วนใหญ่สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือทุกครั้งเมื่อไปสัมผัสกับสิ่งของต่าง ๆ และปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันเป็นอย่างดี ซึ่งสามารถป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าวได้อย่างถูกวิธี จึงทำให้เห็นได้ว่าประชาชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคดังกล่าวเป็นอย่างมากและวิธีการป้องกันตนเองได้ถูกต้องร้อยละ 70
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 |
0.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถผลิตหน้ากากอนามัยได้ด้วยตนเอง |
0.00 | 0.00 |
|
|
3 | เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19)และวิธีการป้องกันที่ถูกต้อง ร้อยละ 70 |
0.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | 130 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 90 | 90 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้เป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 14 ของประเทศไทย โดยเกิดจากเชื้อไวรัสนี้มีชื่อเฉพาะว่า 2019-nCoV ในสมาชิกลำดับที่ 7 ในตระกูล coronaviruses lineage B, จีนัส betacoronavirus , เชื้อมีลำดับยีนมากกว่าร้อยละ 85 ที่เหมือนกับยีโนมของเชื้อ SARS-like CoV ในค้างคาว (bat-SL-CoVZC45, MG772933.1) การก่อ โรคใน มนุษย์จากเชื้อโรคในค้างคาวถือว่า เป็น zoonotic disease ด้วย รายงานการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศจีน โดยเริ่มจากการพบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่ไม่รู้สาเหตุในเมืองอู่ฮั่นเพิ่มขึ้น และต่อมาได้ทราบว่ามีสาเหตุจากเชื้อไวรัส COVID-19 ที่แพร่จากคนสู่คน วันที่ 11 มกราคม 2563 ผลการตรวจเชื้อไวรัสในระดับรหัสสารพันธุกรรม ระบุว่าเป็น เชื้อไวรัส COVID-19 แม้จะยังไม่มีรายงานสรุปอย่างเป็นทางการ คาดว่าน่าจะมีความเกี่ยวข้องกันกับสัตว์ 2 ชนิด คือ งูเห่า และค้างคาวชนิดหนึ่ง” โดยมีจุดเริ่มต้นของผู้ติดเชื้อ เกิดจากคนงานและลูกค้าของตลาดขายส่งอาหารทะเล และเนื้อสัตว์แปลกๆ หายาก ที่ถูกจับมาขายในตลาดสดในสภาพที่ยังเป็นๆ สัตว์เหล่านี้มีเชื้อไวรัสถูกขังเกิดความเครียดล้มป่วย และมีการติดเชื้อข้ามไปยังสัตว์อีกสายพันธุ์ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน เมื่อนำไปบริโภคและติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกาย อาการคล้ายเป็นไข้หวัด มีน้ำมูกไหล ไอจาม ธรรมดา แต่แตกต่างตรงที่เมื่อถึงระยะหนึ่งปอดจะเกิดการอักเสบอย่างรุนแรง ยาลดไข้ทั่วไปไม่สามารถรักษาได้ทันเวลา หากไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ ก็จะกลายเป็นพาหะแพร่ระบาดไปสู่คนอื่นๆ โดยการไอจามรดกัน สัมผัสสารคัดหลั่ง น้ำมูก น้ำลาย น้ำตา ฯลฯ จนทำให้เกิดการป่วยและอาจเสียชีวิตได้ (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563), (Chee Kin, 2020)
สำหรับรายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ลงวันที่ 2 มีนาคม 2563 เวลา 18.30 น. พบมีการแพร่ระบาด 47 ประเทศใน 3 ทวีปทั่วโลก พบผู้ป่วยทั่วโลกทั้งหมด 81,259 คน รักษาหายแล้ว 33,085 คน เสียชีวิต 2,770 คน อัตราตายร้อยละ 3 ของผู้ป่วยทั้งหมด ประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและควรงดเดินทางในช่วงนี้เด็ดขาด ประกอบด้วย จีน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน ซึ่งกลุ่มนี้เป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดจากคนสู่คนอย่างชัดเจน โดยสถานการณ์ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ทั้งหมด 43 ราย รักษาหายแล้ว 31 ราย เสียชีวิต 1 ราย รักษาตัวในโรงพยาบาล 11 ราย (กรมควบคุมโรค,2563) และมีแนวโน้มที่โรคจะแพร่กระจายมากขึ้น สำหรับจังหวัดสตูล จัดว่าเป็นพื้นที่เสี่ยงเพราะเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้สัญจรทั้งคนไทยและต่างประเทศไปมาจำนวนมาก แต่จากการรายงานยังไม่พบผู้ป่วยโรคดังกล่าว แต่ให้ดำเนินการเฝ้าระวังในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสี่ยงทั้ง 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ที่มีโรคประจำตัวด้วยระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการรักษาด้วยคีโม ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเด็กเล็ก กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง อ.เมือง จ.สตูล มีความตระหนักและเล็งเห็นถึงการสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นอย่างมาก อีกทั้งนโยบายของรัฐบาลให้เร่งรัดดำเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันอย่างเร่งด่วน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนทั้ง 4 ชุมชนและเทศบาลตำบลฉลุง จึงได้ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวและมีมติให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลเป็นผู้ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และการทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง และแจ้งเบาะแสในพื้นที่อย่างเข้มแข็ง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ชุมชนในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความเข้มแข็งในการป้องกันโรค ประชาชนมีความรู้และทักษะในการป้องกันโรค และไม่เกิดโรคโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
รหัสโครงการ 63-L7580-5-01 ระยะเวลาโครงการ 9 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง
รหัสโครงการ 63-L7580-5-01 ระยะเวลาโครงการ 9 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19)และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L7580-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางผุสดี จันทร์มี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......