กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63-L2524-2-0004
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกาหลง
วันที่อนุมัติ 26 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 25 ธันวาคม 2563
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายหะมะ ลือแบซา
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลรอฟิด หะยีดือเระ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212883,101.42281place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 44 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด
50.00
2 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยแมลง นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมาเช่น โรคมาลาเรียน เป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้มาลาเรีย ไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ท่ี่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนไม่ว่าจะเป็นด้านการควบคุมและป้องกันโรค ด้านการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา สำหรับบทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคมาลาเรียขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำได้โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย เช่น ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนประชาชน และนอกจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายแล้ว ความต่อเนื่องและสม่ำเสมอของการปฏิบัติงานก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญ ที่จะทำให้การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เป็นพื้นที่ ที่มีประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทำสวนยางพาราและผลไม้ ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่เหมาะสมต่อการแพร่กระจายเชื้อ สถานการณ์ของไข้มาลาเรียใน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ในปี พ.ศ. 2560-2562 มีผู้ป่วยเท่ากับ 77 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 2,488.69 ต่อ ประชากรแสนคน (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส,กลุ่มงาน สบับสนุนวิชาการ งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค,สำนักงานโรคติดต่อนำโดยแมลงจังหวัดนราธิวาส 2562) จะเห็นได้ว่าจำนวนผู้ป่วยในตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร มีอัตราผู้ป่วยเป็นจำนวนมากจึงนับได้ว่าเป็นปัญหา ทางด้านสาธารณสุขของตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร ที่อาจทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพของประชาชนในอนาคต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด

ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด

50.00 1.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

50.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,000.00 0 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 การเฝ้าระวัง ป้องกันโรคมาลาเรีย 0 20,000.00 -

ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำแผนงานเสนอที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากองทุนฯ 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการฯ 3.ผู้รับผิดชอบงานประชุมชี้แจงแผนการดำเนินงานแก่สมาชิกในกลุ่ม 4.ประสานงานกับองค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อ เช่น อสม. ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ขั้นดำเนินการ 1.เสนอโครงการ 2. ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ขั้นตรวจสอบและประเมินผล 1.สรุปและจัดทำรายงานประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน เฝ้าระวังโรคนำโดยแมลง 2.ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียเกิดใน generation 2
3.ผู้ป่วยลดลงจากปีที่ผ่านมา

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2563 12:07 น.