กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการห่วงใยหญิงมีครรภ์ ลดภาวะซีด ฝากให้ทันก่อน ๑๒ สัปดาห์ ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลอาซิ อับดุลรอมัน

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยหญิงมีครรภ์ ลดภาวะซีด ฝากให้ทันก่อน ๑๒ สัปดาห์

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8302-1-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใยหญิงมีครรภ์ ลดภาวะซีด ฝากให้ทันก่อน ๑๒ สัปดาห์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยหญิงมีครรภ์ ลดภาวะซีด ฝากให้ทันก่อน ๑๒ สัปดาห์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใยหญิงมีครรภ์ ลดภาวะซีด ฝากให้ทันก่อน ๑๒ สัปดาห์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8302-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลได้มีการส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบให้มีคุณภาพตามนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ปี 2560-2569 กระทรวงสาธารณสุขได้สอดรับยุทธศาสตร์ดังกล่าวให้สำนักงานสาธารณสุขทุกได้ดำเนินการในเรื่องนี้ ซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นแหล่งสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานได้มีแนวคิดที่จะส่งเสริมให้ประชาชนสร้าง นำซ่อม โดยมีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยมุ่งเน้นให้คนไทยเข้าถึงบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมากขึ้น โดยเฉพาะในงานอนามัยแม่และเด็ก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสได้นโยบายในการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงมีครรภ์ จึงได้เน้นหนักการแก้ไขภาวะซีดในหญิงมีครรภ์ และ ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ เพราะได้เห็นความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต ประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต และการป้องกันมารดาตายและทารกตายปริกำเนิดเป็นแนวทางสำคัญของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พร้อมทั้งให้สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับพัฒนาระบบบริการฯให้ได้มาตรฐานและการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กเชิงรุกอย่างมีส่วนร่วมชุมชนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการสร้างเด็กไทย “แข็งแรง เป็นคนดี มีความสุข มีความคิดสร้างสรรค์” เป้าประสงค์ ๑. ปกป้อง ส่งเสริมและสนับสนุนให้กลุ่มแม่และเด็กแรกเกิด-๕ ปี ได้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์อย่าง ครอบคลุม ทั่วถึงและเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค ๒. สร้างระบบในการดูแลสุขภาพกลุ่มแม่และเด็กแรกเกิด – ๕ ปีอย่างมีคุณภาพและบูรณาการระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและภาคประชาชน เพื่อให้แม่เกิดรอด ลูกปลอดภัย เด็กเติบโต พัฒนาการสมวัย การดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก เพราะหากหญิงตั้งครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคธาลัสซีเมีย(Thalassemia) เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง เป็นต้น โดยเฉพาะซีดที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้ว จะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็ก ในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
จากการดำเนินการงานอนามัยแม่และเด็กในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสะโล อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ในปี ๒๕๖2 ยังเป็นปัญหาที่สำคัญที่จะต้องดำเนินการแก้ไขในลำดับต้นเนื่องจาก การมีภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์อยู่สูงมาก ภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 19.05 ของหญิงมีครรภ์ทั้งหมด (เขตเทศบาลมะรือโบตก)ซึ่งเกินจากเกณฑ์ และส่งผลต่อภาวะซีดในหญิงมีครรภ์แล้วจะส่งผลต่อเด็กในครรภ์ด้วยทำให้เด็กเกิดมาไม่สมบูรณ์ได้
ดังนั้นเพื่อทำการแก้ไขภาวะซีดดังกล่าว ตั้งแต่ระหว่างตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด ทางรพ.สต.บ้านสะโล จึงมีแนวคิดที่แก้ไขปัญหาดังกล่าวให้ได้ครบถ้วนทั้งปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนประสิทธิภาพสูงสุดซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตต่อไป จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นและขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรม Mobile Clinic
  2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ อสม.กับการเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
  3. กิจกรรมสาธิตอาหารหญิงมีครรภ์ป้องกันซีดโดยเน้นใช้วัสดุอาหารในชุมชน
  4. สนับสนุนอาหารเสริมให้แก่หญิงมีครรภ์ที่ HCt. ต่ำกว่า ๓๓ % และเกลือเสริมไอโอดีน
  5. ป้ายโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพตลอดระยะการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด
  2. ไม่มีภาวะซีดในหญิงมีครรภ์และไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวัง ปัจจัยเสี่ยง และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
  4. ไม่มีอัตราการตายของมารดาและทารก
  5. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ป้ายโครงการ

วันที่ 10 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ผืน

 

0 0

2. จัดกิจกรรม Mobile Clinic

วันที่ 24 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงมีครรภ์ได้รับการเฝ้าระวัง และการดูแลในระยะตั้งครรภ์

 

0 0

3. กิจกรรมสาธิตอาหารหญิงมีครรภ์ป้องกันซีดโดยเน้นใช้วัสดุอาหารในชุมชน

วันที่ 26 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสาธิตอาหารหญิงมีครรภ์ป้องกันซีดโดยเน้นใช้วัสดุอาหารในชุมชน ดำเนินการหลังจากขยายเวลา มาในเดือนสิงหาคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วม 44 คน มีการใช้วัสดุอาหารที่มีอยู่ในชุมชน มาทำเมนู ส้มตำผักกูด

 

0 0

4. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ อสม.กับการเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด

วันที่ 27 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาศักยภาพ อสม.กับการเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด(ได้มีการขยายเวลา ดำเนินการในเดือนสิงหาคม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.ได้มีการเยี่ยมเยือน ให้กำลังใจและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพตลอดระยะการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด

 

0 0

5. สนับสนุนอาหารเสริมให้แก่หญิงมีครรภ์ที่ HCt. ต่ำกว่า ๓๓ % และเกลือเสริมไอโอดีน

วันที่ 27 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนอาหารเสริมให้แก่หญิงมีครรภ์ที่ HCt. ต่ำกว่า ๓๓ % และเกลือเสริมไอโอดีน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สนับสนุนอาหารเสริมให้แกหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเข้มข้นของเลือดน้อยกว่า 33 % และแจกเกลือเสริมไอโอดีน เป็นจำนวน 8 ราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีด(คน)
19.05

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรม  Mobile  Clinic (2) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ อสม.กับการเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด (3) กิจกรรมสาธิตอาหารหญิงมีครรภ์ป้องกันซีดโดยเน้นใช้วัสดุอาหารในชุมชน (4) สนับสนุนอาหารเสริมให้แก่หญิงมีครรภ์ที่ HCt. ต่ำกว่า ๓๓ % และเกลือเสริมไอโอดีน (5) ป้ายโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่วงใยหญิงมีครรภ์ ลดภาวะซีด ฝากให้ทันก่อน ๑๒ สัปดาห์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8302-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลอาซิ อับดุลรอมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด