กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง


“ โครงการ ชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง ตำบลแม่ดง ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอมรี มะดาโอะ

ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง ตำบลแม่ดง ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2520-1-7 เลขที่ข้อตกลง 8/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง ตำบลแม่ดง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง ตำบลแม่ดง ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง ตำบลแม่ดง ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2520-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและโรคติดต่อจากสาเหตุอื่นๆนั้นนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ และจากภาวะโรคร้อน อากาศแปรปรวน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคติดต่ออื่น ๆ โรคอจุจาระร่วงถือได้ว่าเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทย แม้จะเป็นโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้โดยง่าย แต่กลับพบอุบัติการณ์ในการ เกิดโรคยังสูงอยู่มาก แม้ในปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการแพทย์ และสาธารณสุขจะมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคอจุจาระร่วงแล้วก็ตาม โรคอจุจาระร่วงกลับยังคงเป็นโรคติดต่อที่มีอัตราการป่วยสูงขึ้นเรื่อยๆ       จากการรายงานผู้มารับบริการในสถานบริการ ในตำบลแม่ดง ปี ๒๕๖๒ พบว่าโรคอุจจาระร่วง มีอัตราป่วยเพิ่มขึ้นทุกๆปี โดยปี ๒๕๖๒ พบผู้ป่วยโรคอุจาระร่วง จำนวน ๑๕๐ ราย  คิดเป็นอัตราป่วย ๒,๓๐๒.๓๘ ต่อแสนประชากร (ที่มา : www.naradusis.info) ซึ่งเกินค่ามัฐยฐานที่กำหนดไว้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแม่ดง จึงได้จัดทำโครงการ ชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคและมีพฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค และเพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อม ครบถ้วนของการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง
  2. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
  3. เพื่อให้ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงสู่ชุมชนในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดการอบรมให้ความรู้
  2. รณรงค์และตรวจสารปนเปื้อนในภาชนะบรรจุอาหารและคนปรุงอาหารในร้านของชำในเขตพื้นที่แม่ดง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.  เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแม่ดง 2.  เพื่อประชาสัมพันธ์และรณรงค์การล้างมือเพื่อป้องกันโรคอุจจาระร่วงหรือโรคอื่นๆ ที่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล 3.  เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมี ประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์และตรวจสารปนเปื้อนในภาชนะบรรจุอาหารและคนปรุงอาหารในร้านของชำในเขตพื้นที่แม่ดง

วันที่ 12 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วงในหมู่บ้านบ้านแม่ดง บ้านบาเละและบ้านเปราะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้เกร่ยวกับโรคอุจจาระร่วงมากยิ่งขึ้นและสามารถป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง

 

150 0

2. จัดการอบรมให้ความรู้

วันที่ 8 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงลดลง
85.00

 

2 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องแลละควบคุมโรคอุจจาระร่วง
100.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงสู่ชุมชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงอย่างถูกต้อง
95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง (2) เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง (3) เพื่อให้ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงสู่ชุมชนในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดการอบรมให้ความรู้ (2) รณรงค์และตรวจสารปนเปื้อนในภาชนะบรรจุอาหารและคนปรุงอาหารในร้านของชำในเขตพื้นที่แม่ดง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง ตำบลแม่ดง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2520-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอมรี มะดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด