โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา ”
ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิตตวัฒนา พรหมวิเชียร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา
ที่อยู่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5298-02-007 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5298-02-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๒ จังหวัดสตูล เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาแบบอยู่ประจำเพื่อรองรับและเปิดโอกาสให้สำหรับนักเรียนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาทั้ง๑๐ประเภทเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษานับว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์อีกกลุ่มหนึ่งที่สำคัญที่ทุกฝ่ายต้องพิทักษ์ปกป้องคุ้มครองให้การดูแลเพื่อให้เกิดความมั่นคงในชีวิต มีคุณภาพชีวิตที่ดีเกิดความเสมอภาคและได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงเท่าเทียมและมีคุณภาพ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา เป็นโครงการที่สนองนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพโดยให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาด้านสุขภาพควบคู่ไปกับการเรียนซึ่งมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประเทศ และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการของสาธารณสุขของกรมอนามัย โดยบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพควบคุมป้องกันโรคอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เกิดการพัฒนาแบบองค์รวมในพื้นที่โรงเรียนเพื่อให้มีสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และปัญญา มิใช่เพียงการปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้นอาจกล่าวได้ว่ามิใช่เพียงไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ แต่รวมถึงการมีชีวิตที่มีร่างกายแข็งแรง ในปัจจุบันซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว บางอย่างที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดภาวะคุกคามต่อสุขภาวะคนไทยเกิดเป็นปัญหาด้านสุขภาพ มลภาวะที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับอาหาร วิถีชีวิต ค่านิยมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไปล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาทั้งสิ้นเช่น การเกิดโรคไข้เลือกออก ซึ่งสถานการณ์ของโรคมีการระบาดอย่างต่อเนื่องด้วยสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงมีฝนตกเป็นระยะ และสภาพภูมิประเทศของพื้นที่สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งมีน้ำขัง ภาชนะถังน้ำ จึงเอื้อต่อการเกิดโรคที่มีตัวพาหะนำโรค ที่สามารถติดต่อได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ได้ง่าย และรวดเร็วจะระบาดมากในช่วงฤดูฝนที่มีน้ำขัง ทำให้เอื้อต่อการเกิดโรคของยุงลายและสุขภาพอนามัยส่วนบุคคลที่ดีนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน ทั้งเหตุผลทางด้านสุขภาพและเหตุผลทางสังคม การรักษาความสะอาดของมือและร่างกายเป็นสิ่งสำคัญในการยับยั้งการเจริญเติบโตและแพร่กระจายของเชื้อโรคและความเจ็บป่วย ที่เป็นสุขนิสัยขั้นพื้นฐานที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่นหิดและเหาที่เป็นตัวนำโรคก็เป็นปัญหาต่อสุขภาพเช่นกัน ที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าเป็นจุดขาวเล็กๆ ที่เกิดจากการอักเสบของผิวหนัง โดยโรคนี้มักพบบ่อยในคนทุกเพศทุกวัยเช่นกันที่สามารถติดต่อได้ง่ายด้วยการสัมผัสหรือใช้สิ่งของร่วมกัน ที่ผ่านมาปี 2561 พบจำนวนผู้ที่เป็นหิดและเหา จำนวน 48 คน ปี ๒๕๖๒ จำนวน 55 คน ซึ่งมักจะพบเป็นพร้อมกันหลายคนในพื้นที่เดียวกันเช่นบ้าน หอพักโรงเรียนประจำ บางครั้งอาจพบการระบาดได้ตามโรงเรียนที่มีความเป็นอยู่ที่แออัด ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการระบาดของหลายๆ โรค มีโรคหลายโรคที่อาจป้องกันหรือสามารถลดอัตราเสี่ยงลงได้ ซึ่งต้องการความร่วมมือร่วมใจจากหลายๆฝ่ายช่วยการสร้างเสริมสุขภาพ
จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว โดยการจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ รวมทั้งปฏิบัติงานแบบ เชิงรุกให้กับนักเรียน และครู สามารถเล็งเห็นถึงความสำคัญป้องกันตนเองจากโรคได้ เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้จัดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพขึ้นทุกระดับทั่วประเทศ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการป้องกันและครบคุมโรคไข้เลือดออก การกำจัดหิดเหาในสถานศึกษา และชุมชนใกล้เคียงได้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อลดปัญหาปริมาณการแพร่ระบาดของโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
729
กลุ่มวัยทำงาน
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างต่อเนื่อง
2. ลดปริมาณจำนวนผู้ป่วยลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. นักเรียนและบุคลากรในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรค สามารถป้องกันตนเอง และเผยแพร่ความรู้ให้บุคคลใกล้ชิด ทำให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ปราศจากโรคและสิ่งแวดล้อมให้โรงเรียนมีคุณภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการป้องกันและครบคุมโรคไข้เลือดออก การกำจัดหิดเหาในสถานศึกษา และชุมชนใกล้เคียงได้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อลดปัญหาปริมาณการแพร่ระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมรับการอบรมได้รับความรู้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างถูกต้อง
ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพอนามัย ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
สามารถควบคุม และลดปริมาณการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลังจากได้รับความรู้
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
744
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
729
กลุ่มวัยทำงาน
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการป้องกันและครบคุมโรคไข้เลือดออก การกำจัดหิดเหาในสถานศึกษา และชุมชนใกล้เคียงได้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อลดปัญหาปริมาณการแพร่ระบาดของโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5298-02-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจิตตวัฒนา พรหมวิเชียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา ”
ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิตตวัฒนา พรหมวิเชียร
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5298-02-007 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5298-02-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๒ จังหวัดสตูล เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาแบบอยู่ประจำเพื่อรองรับและเปิดโอกาสให้สำหรับนักเรียนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาทั้ง๑๐ประเภทเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษานับว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์อีกกลุ่มหนึ่งที่สำคัญที่ทุกฝ่ายต้องพิทักษ์ปกป้องคุ้มครองให้การดูแลเพื่อให้เกิดความมั่นคงในชีวิต มีคุณภาพชีวิตที่ดีเกิดความเสมอภาคและได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงเท่าเทียมและมีคุณภาพ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา เป็นโครงการที่สนองนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพโดยให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาด้านสุขภาพควบคู่ไปกับการเรียนซึ่งมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประเทศ และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการของสาธารณสุขของกรมอนามัย โดยบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพควบคุมป้องกันโรคอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เกิดการพัฒนาแบบองค์รวมในพื้นที่โรงเรียนเพื่อให้มีสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และปัญญา มิใช่เพียงการปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้นอาจกล่าวได้ว่ามิใช่เพียงไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ แต่รวมถึงการมีชีวิตที่มีร่างกายแข็งแรง ในปัจจุบันซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว บางอย่างที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดภาวะคุกคามต่อสุขภาวะคนไทยเกิดเป็นปัญหาด้านสุขภาพ มลภาวะที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับอาหาร วิถีชีวิต ค่านิยมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไปล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาทั้งสิ้นเช่น การเกิดโรคไข้เลือกออก ซึ่งสถานการณ์ของโรคมีการระบาดอย่างต่อเนื่องด้วยสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงมีฝนตกเป็นระยะ และสภาพภูมิประเทศของพื้นที่สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งมีน้ำขัง ภาชนะถังน้ำ จึงเอื้อต่อการเกิดโรคที่มีตัวพาหะนำโรค ที่สามารถติดต่อได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ได้ง่าย และรวดเร็วจะระบาดมากในช่วงฤดูฝนที่มีน้ำขัง ทำให้เอื้อต่อการเกิดโรคของยุงลายและสุขภาพอนามัยส่วนบุคคลที่ดีนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน ทั้งเหตุผลทางด้านสุขภาพและเหตุผลทางสังคม การรักษาความสะอาดของมือและร่างกายเป็นสิ่งสำคัญในการยับยั้งการเจริญเติบโตและแพร่กระจายของเชื้อโรคและความเจ็บป่วย ที่เป็นสุขนิสัยขั้นพื้นฐานที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่นหิดและเหาที่เป็นตัวนำโรคก็เป็นปัญหาต่อสุขภาพเช่นกัน ที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าเป็นจุดขาวเล็กๆ ที่เกิดจากการอักเสบของผิวหนัง โดยโรคนี้มักพบบ่อยในคนทุกเพศทุกวัยเช่นกันที่สามารถติดต่อได้ง่ายด้วยการสัมผัสหรือใช้สิ่งของร่วมกัน ที่ผ่านมาปี 2561 พบจำนวนผู้ที่เป็นหิดและเหา จำนวน 48 คน ปี ๒๕๖๒ จำนวน 55 คน ซึ่งมักจะพบเป็นพร้อมกันหลายคนในพื้นที่เดียวกันเช่นบ้าน หอพักโรงเรียนประจำ บางครั้งอาจพบการระบาดได้ตามโรงเรียนที่มีความเป็นอยู่ที่แออัด ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการระบาดของหลายๆ โรค มีโรคหลายโรคที่อาจป้องกันหรือสามารถลดอัตราเสี่ยงลงได้ ซึ่งต้องการความร่วมมือร่วมใจจากหลายๆฝ่ายช่วยการสร้างเสริมสุขภาพ
จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว โดยการจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ รวมทั้งปฏิบัติงานแบบ เชิงรุกให้กับนักเรียน และครู สามารถเล็งเห็นถึงความสำคัญป้องกันตนเองจากโรคได้ เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้จัดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพขึ้นทุกระดับทั่วประเทศ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการป้องกันและครบคุมโรคไข้เลือดออก การกำจัดหิดเหาในสถานศึกษา และชุมชนใกล้เคียงได้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อลดปัญหาปริมาณการแพร่ระบาดของโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 729 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างต่อเนื่อง 2. ลดปริมาณจำนวนผู้ป่วยลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. นักเรียนและบุคลากรในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรค สามารถป้องกันตนเอง และเผยแพร่ความรู้ให้บุคคลใกล้ชิด ทำให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ปราศจากโรคและสิ่งแวดล้อมให้โรงเรียนมีคุณภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการป้องกันและครบคุมโรคไข้เลือดออก การกำจัดหิดเหาในสถานศึกษา และชุมชนใกล้เคียงได้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อลดปัญหาปริมาณการแพร่ระบาดของโรค ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมรับการอบรมได้รับความรู้ สามารถนำความรู้ที่ได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพอนามัย ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถควบคุม และลดปริมาณการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลังจากได้รับความรู้ |
90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 744 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 729 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมในการป้องกันและครบคุมโรคไข้เลือดออก การกำจัดหิดเหาในสถานศึกษา และชุมชนใกล้เคียงได้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อลดปัญหาปริมาณการแพร่ระบาดของโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5298-02-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจิตตวัฒนา พรหมวิเชียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......