กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า ”

ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
น.ส.ฮับส๊ะ อาดำ ประธาน อสม.หมู่ที่ 7

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า

ที่อยู่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5298-02-014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5298-02-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคซึมเศร้า นับเป็นโรคหนึ่งที่สร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ป่วย เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะทำให้หมดกำลังใจ ท้อแท้ในชีวิต ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนและการทำงานลดลงอย่างชัดเจน คนส่วนใหญ่จะเกิดความเครียดในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านครอบครัว และอื่นๆ เมื่อมีความเครียดเกิดขึ้นก็จะทำให้เกิดเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นภัยเงียบที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย       ปัจจุบันคนในชุมชนตำบลเกตรี พบปัญหาด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ ประชาชนมีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ด้านสุขภาพ บางครอบครัวมีปัญหาด้านสุขภาพของตัวเองหรือของคนในครอบครัว ส่งผลให้เกิดภาวะเครียดและอาจนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า บางรายอาจการทำร้ายตนเองและผู้อื่นได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากคนในชุมชนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าได้ สำหรับพื้นที่หมู่ที่ 7 มีบุคคลที่มีอาการทางจิตเวชทั้งหมด จำนวน 15 ราย โดยแยกผู้ป่วยประเภทจิตเวชจากสารเสพติดจำนวน 5 ราย ผู้ป่วยจิตเวชทางกายจำนวน 3 รายและผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าจำนวน 7 ราย ที่สำคัญเคยมีบุคคลเสียชีวิตโดยการฆ่าตัวตายสำเร็จมาแล้วจำนวน 1 ราย
    ดังนั้น อสม. หมู่ที่ 7 เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้าเพื่อป้องกันและแนะนำการปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากโรคเครียดและซึมเศร้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 คนในชุมชนสุขภาพจิตดีขึ้น 2 คนในชุมชนเข้าใจและป้องกันโรคซึมเศร้าให้กับตัวเองได้ 3 กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้าได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า

วันที่ 28 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีวิทยากรเป็นนักจิตวิทยาคลีนิคชำนาญการณ์จากสถานพินิจมาให้ความรู้โรคซึมเศร้า การสังเกตและประเมินตนเอง มีเป้าหมายคนสามวัยในชุมชนหมู่ที่ 7 ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ ได้รับการตอบรับและความร่วมมือเป็นอย่างดี มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ของแต่ละคน และมีกิจกรรมสันทนาการ ทำให้กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจ และร่วมมือเป็นอย่างดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เชิงปริมาณ :
- กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนจำนวน 10 คน - กลุ่มวัยทำงานจำนวน 40 คน - กลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 10 คน เชิงคุณภาพ : กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เพิ่มขึ้น ผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ บรรลุความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดความสำเร็จ บรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 69
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 10
กลุ่มวัยทำงาน 40 44
กลุ่มผู้สูงอายุ 10 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดีไม่มีโรคซึมเศร้า จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5298-02-014

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.ฮับส๊ะ อาดำ ประธาน อสม.หมู่ที่ 7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด