กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาตาตีมอ ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุพัชญา ด้วงคง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาตาตีมอ ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L7010-01-01 เลขที่ข้อตกลง 001/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาตาตีมอ ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาตาตีมอ ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L7010-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุคคลที่จะประสบความสําเร็จและมีชีวิตที่เป็นสุขนั้น ต้องมีความสามารถทางเชาวน์ปัญญาที่ดี (IQ) ควบคู่ไปกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ที่ดีด้วย จึงจะเป็นคนที่มีคุณภาพ หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ย่อมทำให้การพัฒนาเป็นไปอย่างไม่เต็มศักยภาพ ไอคิว = Intelligence Quotient (IQ) เป็นผลลัพธ์จากการประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา ซึ่งไอคิว หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้ การจํา การคิดอย่างมีเหตุผล การตัดสินใจ ความสามารถทางการสื่อสาร ไอคิวเป็นตัวทํานายความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กได้ ไอคิว เป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิดสามารถถูกพัฒนาให้ดีขึ้นได้ตามศักยภาพของเด็กซึ่งหากได้รับการกระตุ้นพัฒนาอย่างเหมาะสมตามวัยโดยเฉพาะในช่วงขวบปีแรกอย่างถูกต้องก็จะทําให้สติปัญญาพัฒนาขึ้นได้อย่างเต็มศักยภาพ อีคิว = Emotional Quotient (EQ) เป็นผลลัพธ์จากการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ซึ่งความฉลาดทางอารมณ์ หมายถึง ความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ของตนเอง รู้จักควบคุมและแสดงออกอย่างเหมาะสม เข้าใจตนเองและผู้อื่น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ความฉลาดทางอารมณ์สามารถพัฒนาได้จากการเลี้ยงดู กระตุ้นพัฒนาถูกต้องตั้งแต่วัยเด็ก เด็กทีมี่ความฉลาดทางอารมณ์ย่อมเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสุขอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น และสามารถใช้ความสามารถทางสติปัญญาของตนเองได้เต็มที่ ทั้งไอคิวและอีคิวมีแนวทางการพัฒนาและเสริมสร้างไม่ต่างกันขึ้นอยู่กับวิธีการ ซึ่งการเล่านิทานก็เป็นอีกหนึ่งวิธีการในการส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางด้านไอคิวและอีคิว นิทานช่วยปลูกฝังให้เด็กเป็นคนช่างคิดและช่างสังเกตซึ่งเป็นพื้นฐานของการสร้างเด็กให้มีความมั่นใจกล้าคิด และกล้าแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่ถูกที่ควร ถูกที่และถูกเวลา นิทานทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้านภาษาการที่เด็กได้ฟังเสียงที่ได้ยิน จะทำให้รู้จักคำ ความหมายของคำรู้จักประโยคและความหมายของประโยค เป็นการปูพื้นฐานทักษะด้านการฟัง พูด อ่านเขียนให้กับเด็ก นิทานยังกระตุ้นจินตนาการของเด็กน้ำเสียงที่พ่อแม่เล่านิทานให้เด็กฟังจะช่วยเสริมสร้างจินตนาการ การเล่านิทานบ่อยๆจะทำให้เด็กได้ฝึกการสร้างสรรค์จินตนาการที่แปลกใหม่กว้างไกล ไร้ขอบเขต นิทานช่วยบ่มเพาะคุณธรรมและจริยธรรมให้กับเด็ก นิทานส่วนใหญ่จะสอดแทรกคุณธรรม ทักษะชีวิตและข้อคิดดีๆไว้ในเนื้อเรื่องหรือตอนท้ายของเรื่องทำให้เด็กได้ตระหนักถึงคุณงามความดี และสิ่งเหล่านี้จะติดตัวเด็กไปจนกระทั่งเติบโต นิทานเสริมสร้างสมาธิช่วงเวลาของการฟังนิทานเด็กจะตั้งใจฟังอย่างใจจดใจจ่อหากพ่อแม่เลือกนิทานได้เหมาะสมกับช่วงวัย ก็จะทำให้ลูกเข้าใจเรื่องราวของนิทาน และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ นิทานสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวช่วงเวลาดีๆที่พ่อแม่เล่านิทานให้ลูกฟัง จะเป็นช่วงเวลาแห่งความรักและความอบอุ่นเป็นการเสริมสร้างสายใยความผูกพันอันดีระหว่างพ่อแม่ลูก นอกจากนั้นนิทานยังช่วยพัฒนาการขั้นพื้นฐานของเด็ก นิทานช่วยกระตุ้นประสาทสัมผัสต่างๆ เช่น หู ตา รวมทั้งสมอง นิทานช่วยสร้างสมาธิ ความจำดีและปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ถือเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเพลิดเพลิน การเล่านิทานจะช่วยให้เด็กเกิดทักษะการฟัง การพูด กล้าแสดงออก ปลูกฝังความประพฤติและค่านิยมในสังคม และเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนช่วยปรับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็ก ในขณะที่การอ่านนิทานให้ลูกฟังหากให้ลูกนั่งตัก ลูกจะได้รับความอบอุ่นจากสัมผัส และสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างพ่อแม่ลูก ดังนั้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีมีแนวคิดที่จะส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยในเขตตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ซึ่งในการจัดทำโครงการในครั้งนี้ ในฐานะเป็นนักจิตวิทยาจึงเลือกใช้รูปการเสริมสร้างไอคิวอีคิวด้วยวิธีการอ่านนิทาน อันจะนำไปสู่การปลูกฝังให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้การมีนิสัยรักการอ่าน มีทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน รวมไปถึงการได้รับการปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย 4. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย
  3. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้
  4. เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้นทั้งทางด้าน IQ และ EQ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย 4. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน 2. ร้อยละ 80 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย 4. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน 2.  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย      4. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L7010-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุพัชญา ด้วงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด