กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Care giver) ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญนภา มะหะหมัด




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Care giver)

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6961-01-14 เลขที่ข้อตกลง ........../2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Care giver) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Care giver)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Care giver) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L6961-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 3-4 ทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงวัย ตั้งแต่ปี 2543-2544 คือมีประชากรอายุ 60 ปี คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด และผลสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 4 ครั้งที่ผ่านมา พบว่าประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง และในปี 2558 กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 6,394,022 คน พบว่า เป็นกลุ่มติดสังคมประมาณ 5 ล้านคน หรือร้อยละ 79 และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มติดบ้าน ติดเตียง จำเป็นต้องสนับสนุนบริการด้านสุขภาพและสังคม ประมาณ 1.3 ล้าน หรือร้อยละ 21 อำเภอสุไหงโก-ลก มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 8,521 คน (ข้อมููลจากทะเบียนราษฎร์,25 กุมภาพันธ์ 2562) เมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 11.03 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อำเภอสุไหงโก-ลกเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สำหรับผู้สูงอายุในเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ร้อยละ 6.60 จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้สูงอายุได้รับการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุตำบลสุไหงโก-ลก ร้อยละ 28.07 พบว่ามีผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 45 คน ติดบ้าน จำนวน 43 คน ติดสังคม จำนวน 3,571 คน รวมกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว จำนวน 88 คน ซึ่งปัจจุบัน กองทุนระบบการดูแลระยะยาวฯ (LTC) เทศบาลฯ มีจำนวนผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร 70 ชม. จำนวน 20 คน แต่ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริงมีเพียง 15 คน สัดส่วนผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ต่อผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิง 1:6 และมีผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงรายใหม่เฉลี่ยเดือนละ 2-3 ราย จึงทำให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผูู้สูงอายุ (Care Giver) ไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้สูงอายุได้ถูกต้อง อย่างมีคุณภาพ
  2. 2. เพื่อให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) มีความพึงพอใจต่อการบริการดูแลผู้ป่วยระยะยาว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม จัดประชุมทีมคณะทำงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
  2. กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ Care Giver หลักสูตร 70 ชม.
  3. กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำ Care Plan
  4. กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำ Care Conference
  5. กิจกรรม ถอดบทเรียนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้มาตรฐาน
  2. บุคลากรในการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อนและมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม จัดประชุมทีมคณะทำงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

วันที่ 9 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

2. กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ Care Giver หลักสูตร 70 ชม.

วันที่ 9 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารกลางวัน  12250 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  12250 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์  2000 บาท ค่าวิทยากรบรรยาย  25200 บาท ค่าจัดทำไวนิล  1000 บาท ค่าถ่ายเอกสาร  2000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

3. กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำ Care Plan

วันที่ 9 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  875 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

4. กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำ Care Conference

วันที่ 9 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  1000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

5. กิจกรรม ถอดบทเรียนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

วันที่ 9 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  875 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้สูงอายุได้ถูกต้อง อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้หลังการอบรม ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) มีความพึงพอใจต่อการบริการดูแลผู้ป่วยระยะยาว
ตัวชี้วัด : ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุพึงพอใจต่อการบริการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม สิ่งแวดล้อม และสามารถปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้สูงอายุได้ถูกต้อง อย่างมีคุณภาพ (2) 2. เพื่อให้ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) มีความพึงพอใจต่อการบริการดูแลผู้ป่วยระยะยาว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม จัดประชุมทีมคณะทำงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (2) กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ Care Giver หลักสูตร 70 ชม. (3) กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำ Care Plan (4) กิจกรรม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำ Care Conference (5) กิจกรรม ถอดบทเรียนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(Care giver) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6961-01-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญนภา มะหะหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด