กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ในปีงบประมาณ2563
รหัสโครงการ 63-L7010-01-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุน
วันที่อนุมัติ 2 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 83,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอดุล อิศมาอีล
พี่เลี้ยงโครงการ นายสมปอง มั่นคง
พื้นที่ดำเนินการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2563 30 ก.ย. 2563 83,500.00
รวมงบประมาณ 83,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 22 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่หรือกองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีภาคส่วนต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง จากการดำเนินงานของกองทุนที่ผ่านมา พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนและคณะกรรมการกองทุน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพราะคณะกรรมการเป็นบุคคลสำคัญในการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนและเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนาการดำเนินงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและจิต ดังนั้นคณะกรรมการจึงจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความรู้ สร้างจิตสำนึกร่วมกัน ร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมกันบริหารจัดการกองทุน และเพื่อนำวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯและจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงในการประชุมและค่าอาหารและอาหารว่างและเครื่องดื่ม ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน จึงมีความประสงค์จัดโครงการบริการจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบันเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนฯ

คณะกรรมการกองทุนฯมีการพัฒนาในด้านการบริหารงาน

0.00
2 เพื่อการดำเนินงานของกองทุนฯ บรรลุวัตถุประสงค์ และให้เกิดความคล่องตัว

การดำเนินงานของกองทุนฯบรรลุตามวัตถุประสงค์ทั้งเชิงประสิทธิภาพและเวลา

0.00
3 เพื่อพัฒนางานและติดตามความก้าวหน้าของกองทุนฯ

การดำเนินงานของกองทุนฯเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 83,500.00 0 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 .ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน และวางแผนการดำเนินงาน 0 83,500.00 -
  1. ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายชมรมต่างๆ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน และวางแผนการดำเนินงาน จำนวน 1 ครั้ง     2. ดำเนินกิจกรรมการรวมพลังเครือข่ายสร้างสุขภาพป้องกันโรค สำหรับเครือข่ายต่างๆในตำบลตะลุบัน เช่น กลุ่มเดิน – วิ่ง เพื่อสุขภาพ กลุ่มปั่นจักรยาน ชมรมผู้สูงอายุ รพร.สายบุรี ชมรมพัฒนาศักยภาพมัสยิดตะลุบัน กลุ่มเปตอง กลุ่มกีฬาฟุตบอลวัยรุ่นและทั่วไป และกลุ่มอนุรักษ์ชายฝั่งตำบลตะลุบัน จำนวน 6 ครั้ง ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้     2.1 กิจกรรมการตรวจสุขภาพ และให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการออกกำลังกาย     2.2 กิจกรรมการออกกำลังกายตามประเภทกลุ่มต่างๆ     2.3 กิจกรรมการให้ความรู้ด้านการส่งเสริมป้องกันโรค ด้วยหลัก 3อ. 2ส.     2.4 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม     2.5 กิจกรรมจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์   3. ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ
    1. การปฏิบัติงานของกองทุนฯ เป็นไปด้วยความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์
    2. กองทุนฯ มีการพัฒนาและสามารถติดตามความก้าวหน้าได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2563 15:06 น.