กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการ “เด็กกวาลอยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก พัฒนาคุณภาพชีวิต” ”

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซูรา มาหามะ

ชื่อโครงการ โครงการ “เด็กกวาลอยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก พัฒนาคุณภาพชีวิต”

ที่อยู่ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2535-01-7 เลขที่ข้อตกลง 07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “เด็กกวาลอยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก พัฒนาคุณภาพชีวิต” จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “เด็กกวาลอยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก พัฒนาคุณภาพชีวิต”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “เด็กกวาลอยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก พัฒนาคุณภาพชีวิต” " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2535-01-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญกับสุขภาพร่างกาย เพราะฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร การดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพร่างกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้น ไม่ได้เกิดจากสาเหตุภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว ยังมีปัญหาที่เกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมภายในปัจจุบันด้วยยกตัวอย่างเช่น โรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาช่องปากที่พบได้ในทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายๆอย่าง ที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปากแล้ว สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กฟันผุก็มาจากพฤติกรรมการดูแลความสะอาดในช่องปากที่ไม่ถูกวิธี พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก การขาดการดูแลเอาใจใส่ของผู้ปกครอง และคุณครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อีกทั้งการไม่เล็งเห็นถึงความสำคัญของฟันน้ำนม ซึ่งก็ก่อให้เกิดโรคฟันผุตามมา นอกจากจะส่งผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตได้อีกด้วย จากการสำรวจสุขภาพช่องปากของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา พบว่าเด็กอายุ 2 - 3 ปี ซึ่งเป็นปีแรกที่มีฟันน้ำนมขึ้นครบ 20 ซี่ เกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 51.7 มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด 2.7 ซี่ต่อคน
ดังนั้น ทางกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา จึงเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอิสละ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซรายอ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส จึงได้จัดทำโครงการ “เด็กกวาลอยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก พัฒนาคุณภาพชีวิต” ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยการให้ทันตสุขศึกษากับผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้สามารถนำไปดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและเด็กได้ นอกจากนี้ผู้ดำเนินโครงการได้ยึดแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากตามกฎบัตรออตตาวา ในการเพิ่มความสามารถของผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก เพื่อแก้ปัญหาทันตสุขภาพของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีก่อให้เกิดพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้อง ลดปัญหาฟันผุ ทำให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้อย่างถูกวิธีและสะอาด
  2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก กิจกรรมการอบรมแกนนำในการเผยแพร่ความรู้โดยมีผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นแกนนำภายใต้ชื่อ “หมอฟันแห่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก”
  2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปาก ทาฟลูออไรด์วานิช และฝึกทักษะการแปรงฟันที่เหมาะสมแก่เด็กอายุ 2 – 3 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 105
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้
  2. เด็กสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ โดยมีผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเป็นแบบอย่างที่ดีในการดแลสุขภาพช่องปาก
  3. อัตราการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง
  4. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปาก ทาฟลูออไรด์วานิช และฝึกทักษะการแปรงฟันที่เหมาะสมแก่เด็กอายุ 2 – 3 ปี

วันที่ 3 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมสันทนาการ
  2. สอนเด็กและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันแบบ horizontal scrub technique
  3. สาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่เด็กโดยให้เด็กแปรงเอง และให้ผู้ปกครองฝึกแปรงฟันซ้ำให้เด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง

 

105 0

2. กิจกรรมที่ 1 อบรมผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก กิจกรรมการอบรมแกนนำในการเผยแพร่ความรู้โดยมีผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นแกนนำภายใต้ชื่อ “หมอฟันแห่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก”

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ให้ความรุ้เรื่องการป้องกันฟันผุ ประกอบด้วยเรื่องโรคฟันผุ อาหารกับโรคฟันผุและการแปรงฟันที่ถูกวิธี
  2. ให้ความรู้เรื่องของการตรวจฟัน พร้อมทั้งสาธิตการตรวจฟัน
  3. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กฝึกตรวจฟันโดยใช้แบบตรวจจฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้อย่างถูกวิธีและสะอาด

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้อย่างถูกวิธีและสะอาด
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้อย่างถูกวิธีและสะอาด ร้อยละ 90
0.00 90.00

 

2 เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง
ตัวชี้วัด : เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 225
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 105
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้อย่างถูกวิธีและสะอาด (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก กิจกรรมการอบรมแกนนำในการเผยแพร่ความรู้โดยมีผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นแกนนำภายใต้ชื่อ “หมอฟันแห่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก” (2) กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปาก ทาฟลูออไรด์วานิช และฝึกทักษะการแปรงฟันที่เหมาะสมแก่เด็กอายุ  2 – 3 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ “เด็กกวาลอยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก พัฒนาคุณภาพชีวิต” จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2535-01-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซูรา มาหามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด