กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ”
ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางกรรจนา เนียมละออง




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

ที่อยู่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5226-1-01 เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5226-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก และอันดับหนึ่งในประเทศไทยทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม กลุ่มโรคไม่ติดต่อหลักสำคัญ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตและทำให้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น ดังที่จะเห็นได้จากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การบริโภคน้ำตาลเพิ่มขึ้นเป็น 26 ช้อนชา (104 กรัม) ต่อคนต่อวัน ซึ่งสูงกว่าคำแนะนำองค์การอนามัยโลกที่ให้บริโภคน้ำตาลสูงสุดไม่เกิน 12 ช้อนชา ต่อวัน ในทำนองเดียวกันการบริโภคเกลือต่อคนต่อวัน (9 กรัม) ก็สูงเกือบสองเท่าของปริมาณสูงสุดตามคำแนะนำองค์การอนามัยโลก เช่นกัน ทำให้พบปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มากขึ้นในคนไทย   กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญและมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังด้วยการส่งเสริม/รณรงค์ให้ประชาชนไทยทุกคนเข้าถึงและได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพให้ครอบคลุมมากที่สุดตั้งแต่อายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหาภาวะเสี่ยง/ค้นหาโรค ในระยะเริ่มต้น ร่วมทั้งมีการให้ความรู้ และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงทุกรายเพื่อลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว   ด้งนั้น ได้ให้ความสำคัญและเล็งเห็นปัญหาสุขภาพดังกล่าวในระยะยาว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เข้าใจ มีทักษะนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและครอบครัวให้ปลอดภัยจากโรคเรื้อรังได้ รวมทั้งสามารถค้นหาผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องเป็นภาาะตามมาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินโอกาสเสี่ยงต่อดรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดสมอง
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้/ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. ข้อที่ 3 ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์คณะทำงาน/แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ/เขียนโครงการขออนุมัติ/ประชาสัมพันธ์โครงการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมากขึ้น
  2. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้/พฤติกรรมเหมาะสม - ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินโอกาสเสี่ยงต่อดรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : 1. ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดสมอง ร้อยละ 90
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้/ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้/ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3 ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 1 2. อัตราการเกิดความดันโลหิตสูงรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 3
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินโอกาสเสี่ยงต่อดรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดสมอง (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้/ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) ข้อที่ 3 ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์คณะทำงาน/แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ/เขียนโครงการขออนุมัติ/ประชาสัมพันธ์โครงการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคเรื้อรังเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5226-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรรจนา เนียมละออง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด