กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์และมารดาทารกหลังคลอด ”
ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวชฎาพร กองแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์และมารดาทารกหลังคลอด

ที่อยู่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4121-63-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์และมารดาทารกหลังคลอด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์และมารดาทารกหลังคลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์และมารดาทารกหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4121-63-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจัยแห่งการพัฒนาประเทศที่สำคัญที่สุดประการหนึ่ง คือ ทรัพยากรมนุษย์ (ประชากร) ซึ่งในการพัฒนาประเทศชำติให้เจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้ำนอย่างยั่งยืนนั้นจำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพควบคู่ไปกับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม (Moral Virtue) ให้กับเด็กและเยาวชนของประเทศ เพราะผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพดีต้องมีรากฐานจากกระบวนการหล่อหลอมทางสังคม (Socialization) ที่มีประสิทธิภาพต่อเนื่องและสอดประสานกันจากทุกภาคส่วนของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งครอบครัวซึ่งเป็นสถาบันพื้นฐานทางสังคมที่สำคัญที่สุดในการทำหน้าที่หล่อหลอมและขัดเกลำความเป็นมนุษย์ให้สมาชิกในครอบครัวด้วยกำรอบรม เลี้ยงดู ให้ความรัก ความเอื้ออาทร พร้อมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และถ่ายทอดวัฒนธรรมอันดีงามให้สมาชิกในครอบครัว ปัญหางานอนามัยแม่และเด็กที่พบบ่อยในสถานบริการ คือ การติดตามหญิงตั้งมารับการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ การมารับการฝากครรภ์ให้ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง ซึ่งจะพบว่าติดตามได้ยาก ปัญหาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ทารกมีความพิการตั้งแต่กำเนิด บุตรน้ำหนักตัวน้อย การให้ลูกดูดนมแม่ให้ครบ6 เดือน เป็นต้น ทำให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มาตรฐาน โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในหญิง ปัญหาทางด้านสุขภาพจิต ความเครียด ที่เกิดขึ้นในครอบครัวพบได้ตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป เกิดได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย จากปัญหาดังกล่าวทำให้มีผู้ป่วยจัดการกับอารมณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้และแก้ปัญหาได้ไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดการฆ่าตัวตายในที่สุด
ดังนั้นทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง จึงมีแนวคิดที่จะค้นหาหญิงตั้งครรภ์และสามี เพื่อที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ การเตรียมความพร้อม และการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ ซึ่งหลังจากการให้ความรู้แล้วก็จะมีการติดตามหญิงตั้งครรภ์ให้มารับบริการการฝากครรภ์ให้ครบตามเกณฑ์ จนกระทั่งคลอด และการดูแลหลังคลอด การเฝ้าและติดตามเด็กดูดนมแม่ให้ครบ 6 เดือน โดยอสม.ในแต่ละเขต เพื่อหญิงตั้งครรภ์สามี และหญิงหลังคลอดจะได้มีแนวทางในการดูแลตนเองและครอบครัว ป้องกันอัตราการแท้ง ลูกน้ำหนักตัวน้อย ทารกพิการตั้งแต่กำเนิด ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ การตกเลือดหลังคลอดหลังคลอด การดูดนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรค์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คลอดทารกน้ำหนักมากว่า 2500 กรัมและคลอดที่โรงพยาบาล
  3. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็ก และการปฎิบัติตัวของหญิงวัยเจริญพันธุ์และแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำในงานอนามัยแม่และเด็ก ให้มีความรู้ความสามารถในการแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมอบรมแกนนำ สมาชิกสายใยรัก หญิงตั้งครรภ์ สามี/ญาติ 50 คน
  2. ติดตามหญิงตั้งครรภ์ตามนัด / บริการเชิงรุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คนในชุมชน.มีความรู้เกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์ เข้าใจ และสามารถค้นหาหญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้ 2.หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ในการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์จนถึงระยะคลอด 3.อัตราการเกิด การแท้ง ทารกพิการแต่กำเนิด และบุตรน้ำหนักตัวน้อยลดลง 4.ไม่พบภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 5.หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบมารับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง 6.ไม่พบภาวะตกเลือดหลังคลอด เพื่อลดอัตราการแม่เสียชีวิตหลังคลอด 7.เด็กกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. อสม.มีความรู้เกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์และสามารค้นหาหญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้
  2. หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ในการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์จนถึงระยะคลอด
  3. อัตราการเกิด การแท้ง ทารกพิการแต่กำเนิดและบุตรน้ำหนักตัวน้อยลดลง
  4. ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง ลดลง 40%(10 คนใน เหลือ 6 คน จากการเจาะเลือดครั้งที่ 1)
  5. หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบมารับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์
  6. ไม่พบหญิงตั้งครรภ์ในวัยเรียน
  7. ไม่มีการฆ่าตัวตายในพื้นที่ 8.ไม่พบมารดาและทารกตายปริกำเนิด
  8. หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 84.62 จาก ร้อยละ 76.19
  9. หญิงตั้งครรภ์ได้รับมารับการฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 78,08 จาก ร้อยละ 75
  10. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 87.78 จากร้อยละ 80.95
  11. ทารก 0-6 เดือนกินนมอย่างเดียวร้อยละ 93 99 จาก ร้อยละ 76.47

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรค์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คลอดทารกน้ำหนักมากว่า 2500 กรัมและคลอดที่โรงพยาบาล
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็ก และการปฎิบัติตัวของหญิงวัยเจริญพันธุ์และแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำในงานอนามัยแม่และเด็ก ให้มีความรู้ความสามารถในการแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรค์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คลอดทารกน้ำหนักมากว่า 2500 กรัมและคลอดที่โรงพยาบาล (3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็ก และการปฎิบัติตัวของหญิงวัยเจริญพันธุ์และแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำในงานอนามัยแม่และเด็ก ให้มีความรู้ความสามารถในการแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมอบรมแกนนำ สมาชิกสายใยรัก หญิงตั้งครรภ์ สามี/ญาติ 50 คน (2) ติดตามหญิงตั้งครรภ์ตามนัด / บริการเชิงรุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์และมารดาทารกหลังคลอด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4121-63-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชฎาพร กองแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด