โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข ”
ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข
ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3360-2-06 เลขที่ข้อตกลง ................
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3360-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันมีประชากรเพิ่มขึ้นมากมาย และมีแนวโน้มจะทวีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิวัฒนาการด้านการแพทย์ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่าย ประชากรปลอดภัยจากการเจ็บป่วย ไม่สุขสบาย ทำให้มีอายุยืนขึ้นเรื่อยมา ส่งผลให้กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปหรือวัยผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและ ด้วยวัยที่เพิ่มขึ้น สุขภาพร่างกายอ่อนแอ ไม่ค่อยแข็งแรงเท่าที่ควร ส่งผลให้ผู้สูงอายุขาดโอกาสในการพบปะสังสรรค์กับเพื่อนในวัยเดียวกัน เก็บตัวอยู่กับบ้าน ขาดการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลานเท่าที่ควร และขาดทักษะในการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันทางชมรมผู้สูงอายร่มเมืองบูรพา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของกลุ่มผู้สูงอายุ จึงได้จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพาขึ้นมา จากความเห็นชอบ และสนับสนุนจากตัวของผู้สูงอายุเอง และ อสม.รวมทั้งประชาชนทุกคนในชุมชนซึ่งกิจกรรมของชมรมได้สนับสนุน ให้สมาชิกในชมรมมีการรวมกลุ่มจัดเวทีสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต มีการปรึกษาหารือเรื่องส่วนตัว และจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้งการดูแลเสริมทักษะการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และวิธีผ่อนคลายความเครียด การตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน เช่น การตรวจวัดความดันโลหิต การเจาะน้ำตาลในเลือด เป็นต้น
จากการเก็บข้อมูลผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา ผู้สูงอายุหมู่ 1 จำนวน 170 คน ผู้สูงอายุหมู่ 2 จำนวน 80 คน ผู้สูงอายุหมู่ 3 จำนวน 62 คน ผู้สูงอายุหมู่ 4 จำนวน 176 คน รวมทั้งสิ้น 488 คน พบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562 จำนวน 247 คน คิดเป็นร้อยละ 50.61 ดังนี้ ผู้สูงอายุหมู่ 1 จำนวน 89 คน ร้อยละ ๕๒.๓๕ ผู้สูงอายุหมู่ 2 จำนวน 36 คน ร้อยละ ๔๕ ผู้สูงอายุหมู่ 3 จำนวน 36 คน ร้อยละ ๕๘ ผู้สูงอายุหมู่ ๔ จำนวน ๘๖ คน ร้อยละ ๔๘.๘๖
ดังนั้นทางชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา ได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน ๔ หมู่บ้าน โดยส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายตัวแทนของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ 4 หมู่บ้านเพื่อช่วยขับเคลื่อนกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน เป็นสื่อกลางในการช่วยส่งข้อมูล การชักจูงให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ฉะนั้นการมีแกนนำเครือข่าย จึงเป็นกลไกสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรม/ให้ความรู้
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางการเคลื่อนไหวทางกาย
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
3. ผู้สูงอายุได้รับบริการตามมาตรฐานสถานบริการในพื้นที่ กลุ่มเสี่ยง เข้าคลินิก DPAC ร้อยละ 97
และกลุ่มป่วย เข้าสู่คลินิกอรุณสวัสดิ์ ร้อยละ 100
4.ชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพาเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมเดือนละ 2 ครั้ง/ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรม/ให้ความรู้
วันที่ 13 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
กำหนดแผนการอบรมให้ความรู้ การติดต่อวิทยากร กำหนดสถานที่และวันเวลาในการจัดกิจกรรม
-ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมหรือผู้ที่สนใจ
-จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กิจกรรมทางกายโดยการเคลื่อนไหวและการออกแรงที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
-จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง,โรคเข่าเสื่อม,โรคตาต้อกระจก ,โรคสมองเสื่อม,โรคอนามัยในช่องปาก
-จัดกิจกรรมให้ความรู้อาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
- จัดกิจกรรมส่งเสริมการลด ละ เลิก บุหรี่และเหล้าในชุมชน
งบประมาณ
ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุขขนาด1.2X2.4 ม.จำนวน 1 ป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
-ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 5ชม. เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าจัดทำคู่มือเอกสารความรู้ จำนวน 60 เล่ม เล่มละ 40 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าวัสดุในการอบรม เช่น แฟ้มเอกสาร สมุด ปากกา เป็นเงิน 1,100 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4 มื้อ มื้อละ 25บาท จำนวน 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าอบรม จำนวน 2 มื้อ ๆละ 50บาท จำนวน 60คน เป็นเงิน 6,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
3. ผู้สูงอายุได้รับบริการตามมาตรฐานสถานบริการในพื้นที่ กลุ่มเสี่ยง เข้าคลินิก DPAC ร้อยละ 97
และกลุ่มป่วย เข้าสู่คลินิกอรุณสวัสดิ์ ร้อยละ 100
4.ชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพาเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมเดือนละ 2 ครั้ง/ปี
60
0
2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางการเคลื่อนไหวทางกาย
วันที่ 13 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
กำหนดกิจกรรมทางกายโดยการเดิน ไปยังจุดต่างๆในชุมชน ได้แก่ โรงเรียน วัด ศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน และ สวนป่านาโอ่
-กำหนดกิจกรรมทางกายโดยการพัฒนาพื้นที่สาธารณะ เช่น การกวาดขยะ การถากถางต้นไม้หญ้า
งบประมาณ
- ค่าป้ายไวนิลส่งเสริมสุขภาพทางกาย ขนาด 1.2X2.4 ม. จำนวน 1 ป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
- ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติ จำนวน 4 เครื่อง เป็นเงิน 10,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
3. ผู้สูงอายุได้รับบริการตามมาตรฐานสถานบริการในพื้นที่ กลุ่มเสี่ยง เข้าคลินิก DPAC ร้อยละ 97
และกลุ่มป่วย เข้าสู่คลินิกอรุณสวัสดิ์ ร้อยละ 100
4.ชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพาเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมเดือนละ 2 ครั้ง/ปี
0
0
3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
วันที่ 13 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพลดโรคซึมเศร้าในผู้สูงวัย โดยกิจกรรมเยี่ยมบ้าน เพื่อนช่วยเพื่อนห่วงใยสุขภาพ เดือนละ๑ครั้ง
งบประมาณ
- ค่าเอกสารประเมินสภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นเงิน 300 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
. ผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
3. ผู้สูงอายุได้รับบริการตามมาตรฐานสถานบริการในพื้นที่ กลุ่มเสี่ยง เข้าคลินิก DPAC ร้อยละ 97
และกลุ่มป่วย เข้าสู่คลินิกอรุณสวัสดิ์ ร้อยละ 100
4.ชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพาเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมเดือนละ 2 ครั้ง/ปี
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม/ให้ความรู้ (2) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางการเคลื่อนไหวทางกาย (3) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3360-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข ”
ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3360-2-06 เลขที่ข้อตกลง ................
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3360-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันมีประชากรเพิ่มขึ้นมากมาย และมีแนวโน้มจะทวีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิวัฒนาการด้านการแพทย์ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่าย ประชากรปลอดภัยจากการเจ็บป่วย ไม่สุขสบาย ทำให้มีอายุยืนขึ้นเรื่อยมา ส่งผลให้กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปหรือวัยผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและ ด้วยวัยที่เพิ่มขึ้น สุขภาพร่างกายอ่อนแอ ไม่ค่อยแข็งแรงเท่าที่ควร ส่งผลให้ผู้สูงอายุขาดโอกาสในการพบปะสังสรรค์กับเพื่อนในวัยเดียวกัน เก็บตัวอยู่กับบ้าน ขาดการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลานเท่าที่ควร และขาดทักษะในการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันทางชมรมผู้สูงอายร่มเมืองบูรพา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของกลุ่มผู้สูงอายุ จึงได้จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพาขึ้นมา จากความเห็นชอบ และสนับสนุนจากตัวของผู้สูงอายุเอง และ อสม.รวมทั้งประชาชนทุกคนในชุมชนซึ่งกิจกรรมของชมรมได้สนับสนุน ให้สมาชิกในชมรมมีการรวมกลุ่มจัดเวทีสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต มีการปรึกษาหารือเรื่องส่วนตัว และจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้งการดูแลเสริมทักษะการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และวิธีผ่อนคลายความเครียด การตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน เช่น การตรวจวัดความดันโลหิต การเจาะน้ำตาลในเลือด เป็นต้น
จากการเก็บข้อมูลผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา ผู้สูงอายุหมู่ 1 จำนวน 170 คน ผู้สูงอายุหมู่ 2 จำนวน 80 คน ผู้สูงอายุหมู่ 3 จำนวน 62 คน ผู้สูงอายุหมู่ 4 จำนวน 176 คน รวมทั้งสิ้น 488 คน พบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562 จำนวน 247 คน คิดเป็นร้อยละ 50.61 ดังนี้ ผู้สูงอายุหมู่ 1 จำนวน 89 คน ร้อยละ ๕๒.๓๕ ผู้สูงอายุหมู่ 2 จำนวน 36 คน ร้อยละ ๔๕ ผู้สูงอายุหมู่ 3 จำนวน 36 คน ร้อยละ ๕๘ ผู้สูงอายุหมู่ ๔ จำนวน ๘๖ คน ร้อยละ ๔๘.๘๖
ดังนั้นทางชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา ได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน ๔ หมู่บ้าน โดยส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายตัวแทนของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ 4 หมู่บ้านเพื่อช่วยขับเคลื่อนกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน เป็นสื่อกลางในการช่วยส่งข้อมูล การชักจูงให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ฉะนั้นการมีแกนนำเครือข่าย จึงเป็นกลไกสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรม/ให้ความรู้
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางการเคลื่อนไหวทางกาย
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
3. ผู้สูงอายุได้รับบริการตามมาตรฐานสถานบริการในพื้นที่ กลุ่มเสี่ยง เข้าคลินิก DPAC ร้อยละ 97 และกลุ่มป่วย เข้าสู่คลินิกอรุณสวัสดิ์ ร้อยละ 100
4.ชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพาเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมเดือนละ 2 ครั้ง/ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรม/ให้ความรู้ |
||
วันที่ 13 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำกำหนดแผนการอบรมให้ความรู้ การติดต่อวิทยากร กำหนดสถานที่และวันเวลาในการจัดกิจกรรม
-ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมหรือผู้ที่สนใจ
-จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กิจกรรมทางกายโดยการเคลื่อนไหวและการออกแรงที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4 มื้อ มื้อละ 25บาท จำนวน 60 คน เป็นเงิน 6,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าอบรม จำนวน 2 มื้อ ๆละ 50บาท จำนวน 60คน เป็นเงิน 6,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
|
60 | 0 |
2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางการเคลื่อนไหวทางกาย |
||
วันที่ 13 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำกำหนดกิจกรรมทางกายโดยการเดิน ไปยังจุดต่างๆในชุมชน ได้แก่ โรงเรียน วัด ศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน และ สวนป่านาโอ่
-กำหนดกิจกรรมทางกายโดยการพัฒนาพื้นที่สาธารณะ เช่น การกวาดขยะ การถากถางต้นไม้หญ้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต |
||
วันที่ 13 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพลดโรคซึมเศร้าในผู้สูงวัย โดยกิจกรรมเยี่ยมบ้าน เพื่อนช่วยเพื่อนห่วงใยสุขภาพ เดือนละ๑ครั้ง งบประมาณ - ค่าเอกสารประเมินสภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นเงิน 300 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น. ผู้สูงอายุออกกำลังกายรูปแบบการเดิน 60 คน สัปดาห์ละ 3วันๆละ 150 นาที
2. ผู้สูงอายุจำนวน 60 คน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม/ให้ความรู้ (2) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางการเคลื่อนไหวทางกาย (3) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอารมณ์ดี ชีวีมีสุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3360-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานชมรมผู้สูงอายุร่มเมืองบูรพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......