กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการสร้างรัก สร้างน้ำใจเพื่อคนไข้จิตเวช ปี 2560 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพัตมีซัมตาเย๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างรัก สร้างน้ำใจเพื่อคนไข้จิตเวช ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2479-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างรัก สร้างน้ำใจเพื่อคนไข้จิตเวช ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างรัก สร้างน้ำใจเพื่อคนไข้จิตเวช ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างรัก สร้างน้ำใจเพื่อคนไข้จิตเวช ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2479-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมที่เต็มไปด้วยบรรยากาศของการเบียดเบียน เอาเปรียบและแข่งขัน ทั้งทางด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครองของประเทศไทยในปัจจุบัน ล้วนมีผลกระทบต่อภาวะจิตใจการปรับตัวของผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเป็นอย่างมากบุคคลเหล่านี้แม้จะได้รับการบำบัดรักษาจากโรงพยาบาลจนมีอาการทุเลาเพียงใดแต่เมื่อกลับไปอยู่ในชุมชนก็มักจะมีอาการกำเริบกลับมาซ้ำได้อีก จากรายงานผลการดำเนินงานสุขภาพจิตของโรพยาบาลเจาะไอร้องปีพ.ศ. ๒๕๕๙พบว่ามีผู้ป่วยจิตเวชทั้งหมด ๑๒๒ คน ซึ่งเพิ่มจากเดิมคิดเป็นร้อยละ ๓๒.๗๘ โดยเกิดจากความเครียด เศร้า ผิดหวัง ๕๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๘๐ ยาเสพติด ๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๙๘ พันธุกรรม ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๘๔ จำนวนที่เข้ารับการรักษา มีผู้ป่วยรักษาต่อเนื่อง ๘๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๔๐ ขาดยา ขาดนัด ๒๓ คนคิดเป็นร้อยละ ๑๘.๘๕ ปฏิเสธการรักษา ๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๗๕ สาเหตุการเกิดดังกล่าวเนื่องจากการขาดความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวชอย่างแท้จริง ไม่มีความรู้ในการคัดกรองผู้ป่วยเบื้องต้นเพื่อเข้าสู่สถานบริการ ดังนั้นงานสุขภาพจิตของแต่ละโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขตตำบลบูกิตร่วมกับงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลเจาะไอร้องได้ตระหนักถึงความสำคัญ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตัวเอง รวมทั้งผู้ดูแลและเครือข่ายมีความร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องและผู้ป่วยรายใหม่เข้ารับการรักษาในสถานบริการของรัฐต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตัวเอง
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการของรัฐมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 122
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 122
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ผู้ดูแล และเครือข่ายมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตและจิตเวช ๒.ผู้ป่วยจิตเวชได้รับยาอย่างต่อเนื่อง ๓.ผู้ป่วยจิตการเข้าถึงบริการของรัฐมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรม เรื่องการให้ความรู้ผู้ดูแลและผู้ป่วยเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเวช

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจ  และมีทักษะในการดูแลตัวเองสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้
    • ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช และครอบครัวมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช สามารถปฏิบัติต่อผู้ป่วยจิตเวชได้และป้องกันปัญหาอาการกำเริบของผู้ป่วยได้
    • ผู้ดูแลและเครือข่ายมีความร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
    • ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
    • ผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่เข้ารับการรักษาในสถานบริการรัฐเพิ่มขึ้น

     

    84 84

    2. กิจกรรม เรื่องการให้ความรู้ผู้ดูแลและผู้ป่วยเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเวช

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจ  และมีทักษะในการดูแลตัวเองสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้
    • ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช และครอบครัวมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช สามารถปฏิบัติต่อผู้ป่วยจิตเวชได้และป้องกันปัญหาอาการกำเริบของผู้ป่วยได้
    • ผู้ดูแลและเครือข่ายมีความร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
    • ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
    • ผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่เข้ารับการรักษาในสถานบริการรัฐเพิ่มขึ้น

     

    80 80

    3. กิจกรรม เรื่องการให้ความรู้ผู้ดูแลและผู้ป่วยเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเวช

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจ  และมีทักษะในการดูแลตัวเองสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้
    • ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช และครอบครัวมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช สามารถปฏิบัติต่อผู้ป่วยจิตเวชได้และป้องกันปัญหาอาการกำเริบของผู้ป่วยได้
    • ผู้ดูแลและเครือข่ายมีความร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
    • ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
    • ผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่เข้ารับการรักษาในสถานบริการรัฐเพิ่มขึ้น

     

    80 80

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัตมีซัม  ตาเย๊ะ วันที่/สถานที่จัดกิจกรรม วันที่ ๙  เดือนพฤศจิกายน  พ.ศ.๒๕๖๐  ณ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย                                         วันที่ ๑๓  เดือนพฤศจิกายน  พ.ศ.๒๕๖๐  ณ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต                                         วันที่ ๑๖  เดือนพฤศจิกายน  พ.ศ.๒๕๖๐  ณ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ ๑. ผลที่ได้จากการดำเนินงาน ๑.๑ เชิงปริมาณ
        - ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  ๒๔๔  คน ผู้เข้าอบรม  ๒๔๔คน  ผ่านการอบรมร้อยละ ๑๐๐ ๑.๒เชิงคุณภาพ
        - ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจ  และมีทักษะในการดูแลตัวเองสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้     - ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช และครอบครัวมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช สามารถปฏิบัติต่อผู้ป่วยจิตเวชได้และป้องกันปัญหาอาการกำเริบของผู้ป่วยได้     - ผู้ดูแลและเครือข่ายมีความร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช     - ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง     - ผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่เข้ารับการรักษาในสถานบริการรัฐเพิ่มขึ้น ๒. ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ระบุแหล่งงบประมาณและค่าใช้จ่ายตามประเภทเช่นค่าตอบแทน ค่าใช้สอบ ค่าวัสดุ ฯลฯ สนับสนุนงบประมาณโครงการฯจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบูกิต จำนวน  ๓๑,๓๐๐  บาท
    รายละเอียด  ดังนี้ กิจกรรม  เรื่องการให้ความรู้ผู้ดูแลและผู้ป่วยเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเวช - ค่าวัสดุสำนักงาน  (ในการจัดอบรม)         เป็นเงิน    ๒,๕๘๐  บาท - ค่าวิทยากร  ชม.ละ  ๖๐๐  บาท × ๒ ชม. × ๓ รพ.สต. เป็นเงิน    ๓,๖๐๐  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน ๒๔๔ คน x ๒๕ บาท x ๒ มื้อ เป็นเงิน  ๑๒,๒๐๐  บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๒๔๔ คน x ๕๐ บาท x ๑ มื้อ เป็นเงิน  ๑๒,๒๐๐  บาท - ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์  ๑.๒ × ๒.๔ × ๑ เป็นเงิน      ๗๒๐  บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน  ๓๑,๓๐๐  บาท(สามหมื่นหนึ่งพันสามร้อยบาทถ้วน) - ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตัวเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการของรัฐมากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 244
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 122
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 122
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตัวเอง (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการของรัฐมากขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างรัก สร้างน้ำใจเพื่อคนไข้จิตเวช ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2479-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพัตมีซัมตาเย๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด