กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้


“ โครงการการคัดกรองความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปีงบ 2563 ”

ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางเสาวนีย์ ปาวัล

ชื่อโครงการ โครงการการคัดกรองความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปีงบ 2563

ที่อยู่ ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6957-1-08 เลขที่ข้อตกลง 2/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการคัดกรองความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปีงบ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการคัดกรองความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปีงบ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการคัดกรองความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปีงบ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L6957-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,494.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงหัวใจหลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯ เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าวซึ่งการบริการสุขภาพภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานที่จำเป็น รวมทั้งการบริการสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมโรคเป็นสำคัญ โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ถือเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้เช่น ความอ้วน ความเครียด การออกกำลังกาย พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ซึ่งหากประชาชนไม่สามารถควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่อายุ 35 ปีขึ้นไปย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และต้องได้รับการรักษารับประทานยาตลอดชีวิต อีกทั้งหากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ส่งผลให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น ข้อมูลจากการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมาย (ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ.นราธิวาส ปี 2562) พบว่า สงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละ 3.97 สงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 4.39  ดัชนีมวลกายเกินมาตรฐาน (≥ 23 กก./ตร.ม.) ร้อยละ 24.11 คนรอบเอวเกินมาตรฐาน (ชายไม่เกิน 90 ซม. / หญิงไม่เกิน 80 ซม.) ร้อยละ 77.83 เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดร้อยละ 12.77.
    ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือเระ เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมาย ตระหนัก รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาคัดกรองผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยโรคก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน
  3. เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  5. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ลงพื้นที่คัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบพร้อม อสม. 4 หมู่บ้าน
  2. ติดตามกลุ่มเสี่ยง หลังการอบรม ทุก 3 สัปดาห์
  3. อบรมกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 813
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทุกคน ๒.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการรักษาตามระบบครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐     ๔.ผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีอัตราลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ลงพื้นที่คัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบพร้อม อสม. 4 หมู่บ้าน

วันที่ 25 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุในการคัดกรองหาระดับน้ำตาลในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ร้อยละ 91.58 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอgเบาหวาน ร้อยละ 91.58 ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 69.67 ประชากรกลุ่มป่วยเป็นความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 6.46 เบาหวานรายใหม่ร้อยละ 1.74
กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจ ร้อยละ 86.32

 

813 0

2. ติดตามกลุ่มเสี่ยง หลังการอบรม ทุก 3 สัปดาห์

วันที่ 25 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม

 

0 0

3. อบรมกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 25 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้กับประชากรทีมีอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 4 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการปรับเปี่ยนพฤติกรรม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาคัดกรองผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มากกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยโรคก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชากรกลุ่มป่วยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5 2.ร้อยละประชากรกลุ่มป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ให้การรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามระบบการรักษาครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

5 กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 813
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 813
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาคัดกรองผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยโรคก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน (3) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (4) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (5) กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงพื้นที่คัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบพร้อม อสม. 4 หมู่บ้าน (2) ติดตามกลุ่มเสี่ยง หลังการอบรม ทุก 3 สัปดาห์ (3) อบรมกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการคัดกรองความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปีงบ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6957-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสาวนีย์ ปาวัล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด