กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 1)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 1) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุทธินาฎ พลายอิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 179,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศจีน และแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งอาการโรค คือ มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการทางระบบทางเดินหายใจล้มเหลว อาจถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ มีหลักฐานการติดต่อจากจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่การระบาดของโรคมีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 202 ประเทศ จำนวนผู้ป่วย 723,319 ราย เสียชีวิต 33,993 โดยสหรัฐอเมริกามียอดผู้ป่วยถึง 142,735 ราย เสียชีวิต 2,488 ราย รองลงมาคือประเทศอิตาลี มีผู้ป่วย 97689 ราย เสียชีวิต 10,779 ราย ประเทศจีน มีผู้ป่วยมากถึง 81,470 ราย เสียชีวิต 3,304 ราย ประเทศสเปนมีผู้ป่วย 80110 ราย เสียชีวิต 6,803 ราย สำหรับข้อมูลประเทศไทศไทย มียอดผู้ป่วยสะสม 1,524 คน ติดเชื้อรายใหม่ 136 คน เสียชีวิต 9 คน สตูลเป็น 1 ใน 15 จังหวัด ที่ไม่พบการติดเชื้อ (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกรณีโรคโคโรนา 2019 (COVID-19) (30 มีนาคม 2563 ณ เวลา 13.39)
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โโยองค์กรอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ เนื่องจากเชื้อดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ส่วนในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) Coronavirus disease 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โดยประกาศนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 เป็นต้นมา
ทั้งนี้การป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุลากรโรงพยาบาลควนกาหลงและผู้รับบริการจึงมีความสำคัญยิ่ง เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป
ดังนั้น โรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการ การป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลงและผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563 ขึ้น โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนกาหลง จำนวนเงิน 179,800 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นเก้าพันแปดร้อยบาทถ้วน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.บุคลากรและผู้มารับบริการมีความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.ไม่พบการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากร และผู้มารับบริการในเขตควนกาหลง 3.ไม่พบการแพร่กระจายเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากร และผู้มารับบริการในเขตอำเภอควนกาหลง 4.มีเจลล้างมือ และหน้ากากอนามัยสำหรับผู้รับบริการที่ต้องการเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 5.บุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู่มารับบริการมีความพึงพอใจ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบุคลากรโรงพยาบาลควนกาหลง และผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุทธินาฎ พลายอิน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด