โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะฮ์ นารอยี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง
มิถุนายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5)
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 308,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก“Coronavirus disease 2019”เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบ และมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนเหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบเป็นไวรัสตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และโรคเมอร์ส (MERS)
จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 26 มีนาคม 2563 สถานการณ์ทั่วโลกในพบผู้ป่วยติดเชื้อ ยืนยัน จำนวน 532,224 ราย เสียชีวิต 24,087 ราย และสถานการณ์ประเทศไทย ผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 15,292 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1,045 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ 111 ราย รุนแรง 12 ราย เสียชีวิต 4 ราย และกลับบ้านแล้ว 97 รายเพื่อเป็นการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองไม่ให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยที่ไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงมาตรการต่างๆ และการดำเนินการตามมาตรการต่างๆ เช่น การสวมใส่หน้ากากอนามัย และการล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะขณะที่มีการระบาดโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงควรเห็นว่ามีการบูรณาการร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ และการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลและป้องกันตนเองให้แก่ประชาชนในพื้นที่
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารตำบลควนกาหลง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนกาหลง เป็นเงินทั้งสิ้น 308,700 บาท(สามแสนแปดพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ด้วยตนเอง
- เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ลดความตื่นตระหนกและสร้างความตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
2.มีทีมตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่
3.มีทรัพยากร และงบประมาณที่เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : -ประชาชนในพื้นที่มีความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) และสามารถป้องกันตนเองในเบื้องต้นได้
0.00
2
เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : -มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ด้วยตนเอง (2) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลเลาะฮ์ นารอยี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะฮ์ นารอยี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ
มิถุนายน 2563
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 308,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก“Coronavirus disease 2019”เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบ และมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนเหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบเป็นไวรัสตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และโรคเมอร์ส (MERS)
จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 26 มีนาคม 2563 สถานการณ์ทั่วโลกในพบผู้ป่วยติดเชื้อ ยืนยัน จำนวน 532,224 ราย เสียชีวิต 24,087 ราย และสถานการณ์ประเทศไทย ผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 15,292 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1,045 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ 111 ราย รุนแรง 12 ราย เสียชีวิต 4 ราย และกลับบ้านแล้ว 97 รายเพื่อเป็นการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองไม่ให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยที่ไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงมาตรการต่างๆ และการดำเนินการตามมาตรการต่างๆ เช่น การสวมใส่หน้ากากอนามัย และการล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะขณะที่มีการระบาดโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงควรเห็นว่ามีการบูรณาการร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ และการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลและป้องกันตนเองให้แก่ประชาชนในพื้นที่
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารตำบลควนกาหลง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนกาหลง เป็นเงินทั้งสิ้น 308,700 บาท(สามแสนแปดพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ด้วยตนเอง
- เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ลดความตื่นตระหนกและสร้างความตระหนักของประชาชนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
2.มีทีมตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่
3.มีทรัพยากร และงบประมาณที่เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : -ประชาชนในพื้นที่มีความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) และสามารถป้องกันตนเองในเบื้องต้นได้ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : -มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ด้วยตนเอง (2) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)(ประเภทที่ 5) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลเลาะฮ์ นารอยี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......