โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายฐาปนันท์ บริบาล นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง
มิถุนายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5)
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศจีน และแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งอาการโรค คือ มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ
ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน และผู้เสียชีวิต โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสCOVID-19เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ เนื่องจากเชื้อดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ส่วนในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โดยประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 เป็นต้นมา
ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 จำเป็นต้องมีการดำเนินการลงพื้นที่สำรวจกลุ่มเป้าหมาย ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ ชุมชน สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ และบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูลโรงพยาบาลควนกาหลง ซึ่งรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป โรงพยาบาลควนกาหลง โดยกลุ่มงานเทคนิคการแพทย์จึงได้เสนอ“โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563” โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนกาหลง จำนวนเงิน 200,000 บาท (สองแสนบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการคัดกรองการติดเชื้อโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID -19)เบื้องต้นโดยการเจาะเลือดตรวจหา Antibody วิธี Rapid test
- 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง จนยากแก่การควบคุม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสงสัยตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการเจาะเลือดตรวจคัดกรองหาการติดเชื้อ COVID 19
- กลุ่มเสี่ยงที่ให้ผลการทดสอบ COVID-19 Ab ทั้งผลบวกและผลลบ ได้รับคำแนะนำและจัดการที่ถูกต้องตามแนวทางปฏิบัติ (Guidline)
- หน่วยงานที่รับผิดชอบสามารถทราบสถานการณ์ การติดเชื้อของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID–19) เบื้องต้น และตอบสนองเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการคัดกรองการติดเชื้อโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID -19)เบื้องต้นโดยการเจาะเลือดตรวจหา Antibody วิธี Rapid test
ตัวชี้วัด : 1.1 กลุ่มเสี่ยง COVID-19 ตาม Criteria ตำบลควนกาหลง ได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองหาแอนติบอดี้ โดยวี Rapid test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากเป้าหมายที่กำหนด 200 คน
1.2 กลุ่มเสี่ยงที่ให้ผลการทดสอบ COVID-19 Ab ทั้งผลบวกและ ผลลบ ได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง ร้อยละ 100
0.00
2
2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง จนยากแก่การควบคุม
ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มเสี่ยง COVID-19 ตาม Criteria ตำบลควนกาหลง ที่ได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองหาแอนติบอดี้ โดยวิธี Rapid testและให้ผล PositiveIgM หรือ IgG ได้รับการจัดการตามแนวทาง
2.2 กลุ่มเสี่ยง COVID-19 ตาม Criteria ตำบลควนกาหลงที่ได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองหาแอนติบอดี้ โดยวิธี Rapid testและให้ผล Negative ได้รับการติดตามเจาะเลือดตรวจหา Ab ครั้งที่ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการคัดกรองการติดเชื้อโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID -19)เบื้องต้นโดยการเจาะเลือดตรวจหา Antibody วิธี Rapid test (2) 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง จนยากแก่การควบคุม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายฐาปนันท์ บริบาล นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายฐาปนันท์ บริบาล นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการ
มิถุนายน 2564
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศจีน และแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งอาการโรค คือ มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน และผู้เสียชีวิต โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสCOVID-19เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ เนื่องจากเชื้อดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ส่วนในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โดยประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 เป็นต้นมา ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 จำเป็นต้องมีการดำเนินการลงพื้นที่สำรวจกลุ่มเป้าหมาย ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ ชุมชน สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ และบริการสาธารณะต่างๆ เขตในพื้นที่ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูลโรงพยาบาลควนกาหลง ซึ่งรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป โรงพยาบาลควนกาหลง โดยกลุ่มงานเทคนิคการแพทย์จึงได้เสนอ“โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563” โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนกาหลง จำนวนเงิน 200,000 บาท (สองแสนบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการคัดกรองการติดเชื้อโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID -19)เบื้องต้นโดยการเจาะเลือดตรวจหา Antibody วิธี Rapid test
- 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง จนยากแก่การควบคุม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสงสัยตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการเจาะเลือดตรวจคัดกรองหาการติดเชื้อ COVID 19
- กลุ่มเสี่ยงที่ให้ผลการทดสอบ COVID-19 Ab ทั้งผลบวกและผลลบ ได้รับคำแนะนำและจัดการที่ถูกต้องตามแนวทางปฏิบัติ (Guidline)
- หน่วยงานที่รับผิดชอบสามารถทราบสถานการณ์ การติดเชื้อของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID–19) เบื้องต้น และตอบสนองเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการคัดกรองการติดเชื้อโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID -19)เบื้องต้นโดยการเจาะเลือดตรวจหา Antibody วิธี Rapid test ตัวชี้วัด : 1.1 กลุ่มเสี่ยง COVID-19 ตาม Criteria ตำบลควนกาหลง ได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองหาแอนติบอดี้ โดยวี Rapid test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากเป้าหมายที่กำหนด 200 คน 1.2 กลุ่มเสี่ยงที่ให้ผลการทดสอบ COVID-19 Ab ทั้งผลบวกและ ผลลบ ได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง จนยากแก่การควบคุม ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มเสี่ยง COVID-19 ตาม Criteria ตำบลควนกาหลง ที่ได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองหาแอนติบอดี้ โดยวิธี Rapid testและให้ผล PositiveIgM หรือ IgG ได้รับการจัดการตามแนวทาง 2.2 กลุ่มเสี่ยง COVID-19 ตาม Criteria ตำบลควนกาหลงที่ได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจคัดกรองหาแอนติบอดี้ โดยวิธี Rapid testและให้ผล Negative ได้รับการติดตามเจาะเลือดตรวจหา Ab ครั้งที่ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง สามารถเข้าถึงการคัดกรองการติดเชื้อโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID -19)เบื้องต้นโดยการเจาะเลือดตรวจหา Antibody วิธี Rapid test (2) 2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างในพื้นที่ตำบลควนกาหลง จนยากแก่การควบคุม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19 โดยการเจาะเลือดตรวจแอนติบอดี้ วิธี Rapid test ปีงบประมาณ 2563(ประเภทที่ 5) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายฐาปนันท์ บริบาล นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......