โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) ”
ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุธาทิพย์ จันทคาร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง)
ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L8015-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L8015-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีทั่วโลก รองลงมาจากมะเร็งเต้า นม สำหรับในประเทศไทยมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในมะเร็งของสตรีไทย สาเหตุของ มะเร็งปากมดลูกที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอน แต่สาเหตุสำคัญเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบัน คือ การติดเชื้อ human papilloma virus หรือ HPV บริเวณปากมดลูก เป็นสาเหตุจำเพาะของมะเร็ง ปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมทำให้ปากมดลูกมีโอกาสติดเชื้อ HPV ได้มากขึ้นหรือ ง่ายขึ้น เช่นการมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย หรือการตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย มะเร็งปาก มดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิงไทย และจะมีอัตราการเสียชีวิต เกินครึ่งหนึ่งเลย ทีเดียว และเป็นต้นเหตุทำให้ผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตมากกว่าปีละ 270,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 650 คน โดยมีสถิติของผู้เสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 7 คนต่อวัน แต่โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หาย และมีความ เป็นไปได้ในการที่จะกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทย หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก หรือระยะ ก่อนเป็นมะเร็ง ปัญหาสำคัญคือ คนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้ว ซึ่งยากต่อการ รักษาให้หาย ผู้ป่วยมักเสียชีวิต รวมทั้งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมาก
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาประดู่ จึงเห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดมะเร็ง ปากมดลูกโดยการตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูกในสตรีเป้าหมายกลุ่มอายุ 30-60 ปี จากการ ดำเนินงานปี 2558 มีกลุ่มเป้าหมาย 555 คน ได้รับการคัดกรอง 111 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ผ่านเกณท์ เจอเซลล์ผิดปกติ 1 ราย ได้ส่งรับการส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานี พบติดเชื้อรา 13 ราย ได้รายงานแพทย์สั่งยา รักษาทั้ง 13 ราย พบการอักเสบ 16 ราย ซึ่งได้นัดตรวจซ้ำอีก 6 เดือน ในปี 2559 มีกลุ่มเป้าหมาย 640 คน ได้รับการคัดกรอง 128 คน ผ่านเกณท์ 20 % ไม่พบเซลส์ผิดปกติ แต่พบมีการอักเสบ 23 ราย ติดเชื้อราและแบคทีเรีย 13 ราย ไดัรับยาทั้งหมด 36 ราย คิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นต์ ปี 2560 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450 คน ได้รับคัดกรอง 90 คน คิดเป็นร้อยละ 20 พบความผิดปกติเต้านม 1 ราย ได้ส่งต่อโรงพยาบาลโคกโพธิ์ ส่วนผลมะเร็งปากมดลูกกำลังดำเนินการอ่านผลที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ใน ปี 2561 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 395 คน ได้รับการคัดกรองทั้งหมด 79 คน คิดเป็นร้อยละ 20 พบความผิดปกติของเซลส์มะเร็ง 3 ราย ได้ส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานีเพื่อทำการรักษาต่อและยืนยันผล ในปี 2562 มีกลุ่มเป้าหมาย 375 คน ต้องได้รับการคัดกรอง 75 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ในปี 2563 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 คน ต้องได้รับคัดกรอง 80 คน ถึงจะผ่านร้อยละ 20
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้
- 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
- 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตระหนักถึงการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2.สตรีวัยเจริญพันธ์อายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3.สตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการ รักษาที่ถูกต้องเหมาะสมร้อยละ 100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
0.00
2
2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้
0.00
3
3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 จากทั้งสิ้น 400 คน คือ 80 คนในปี 2563
0.00
4
4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้ (3) 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (4) 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L8015-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุธาทิพย์ จันทคาร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) ”
ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุธาทิพย์ จันทคาร
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L8015-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L8015-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีทั่วโลก รองลงมาจากมะเร็งเต้า นม สำหรับในประเทศไทยมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในมะเร็งของสตรีไทย สาเหตุของ มะเร็งปากมดลูกที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอน แต่สาเหตุสำคัญเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบัน คือ การติดเชื้อ human papilloma virus หรือ HPV บริเวณปากมดลูก เป็นสาเหตุจำเพาะของมะเร็ง ปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมทำให้ปากมดลูกมีโอกาสติดเชื้อ HPV ได้มากขึ้นหรือ ง่ายขึ้น เช่นการมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย หรือการตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย มะเร็งปาก มดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิงไทย และจะมีอัตราการเสียชีวิต เกินครึ่งหนึ่งเลย ทีเดียว และเป็นต้นเหตุทำให้ผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตมากกว่าปีละ 270,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 650 คน โดยมีสถิติของผู้เสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 7 คนต่อวัน แต่โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หาย และมีความ เป็นไปได้ในการที่จะกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทย หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก หรือระยะ ก่อนเป็นมะเร็ง ปัญหาสำคัญคือ คนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้ว ซึ่งยากต่อการ รักษาให้หาย ผู้ป่วยมักเสียชีวิต รวมทั้งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมาก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาประดู่ จึงเห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดมะเร็ง ปากมดลูกโดยการตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูกในสตรีเป้าหมายกลุ่มอายุ 30-60 ปี จากการ ดำเนินงานปี 2558 มีกลุ่มเป้าหมาย 555 คน ได้รับการคัดกรอง 111 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ผ่านเกณท์ เจอเซลล์ผิดปกติ 1 ราย ได้ส่งรับการส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานี พบติดเชื้อรา 13 ราย ได้รายงานแพทย์สั่งยา รักษาทั้ง 13 ราย พบการอักเสบ 16 ราย ซึ่งได้นัดตรวจซ้ำอีก 6 เดือน ในปี 2559 มีกลุ่มเป้าหมาย 640 คน ได้รับการคัดกรอง 128 คน ผ่านเกณท์ 20 % ไม่พบเซลส์ผิดปกติ แต่พบมีการอักเสบ 23 ราย ติดเชื้อราและแบคทีเรีย 13 ราย ไดัรับยาทั้งหมด 36 ราย คิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นต์ ปี 2560 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450 คน ได้รับคัดกรอง 90 คน คิดเป็นร้อยละ 20 พบความผิดปกติเต้านม 1 ราย ได้ส่งต่อโรงพยาบาลโคกโพธิ์ ส่วนผลมะเร็งปากมดลูกกำลังดำเนินการอ่านผลที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ใน ปี 2561 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 395 คน ได้รับการคัดกรองทั้งหมด 79 คน คิดเป็นร้อยละ 20 พบความผิดปกติของเซลส์มะเร็ง 3 ราย ได้ส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานีเพื่อทำการรักษาต่อและยืนยันผล ในปี 2562 มีกลุ่มเป้าหมาย 375 คน ต้องได้รับการคัดกรอง 75 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ในปี 2563 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 คน ต้องได้รับคัดกรอง 80 คน ถึงจะผ่านร้อยละ 20
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้
- 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
- 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตระหนักถึงการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2.สตรีวัยเจริญพันธ์อายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
3.สตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการ รักษาที่ถูกต้องเหมาะสมร้อยละ 100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้ |
0.00 |
|
||
3 | 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 จากทั้งสิ้น 400 คน คือ 80 คนในปี 2563 |
0.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้ (3) 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (4) 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 63-L8015-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุธาทิพย์ จันทคาร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......