กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการ บำบัดกลุ่มเสี่ยงสารเคมีด้วยวิธีการอบสมุนไพร ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการ บำบัดกลุ่มเสี่ยงสารเคมีด้วยวิธีการอบสมุนไพร

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ บำบัดกลุ่มเสี่ยงสารเคมีด้วยวิธีการอบสมุนไพร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ บำบัดกลุ่มเสี่ยงสารเคมีด้วยวิธีการอบสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ บำบัดกลุ่มเสี่ยงสารเคมีด้วยวิธีการอบสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยอาศัยการนำเอาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร การออกกำลังกายด้วยกายบริหารฤๅษีดัดตน การนวด อบ และประคบด้วยสมุนไพร การรับประทานอาหารตามหลักธรรมชาติบำบัด การทำสมาธิบำบัด การฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ เป็นต้น เมื่อมีการนำองค์ความรู้เหล่านี้มาประยุกต์ใช้ร่วมกับการรักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันแล้วน่าจะเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของประชาชน และ ยังตอบสนองยุทธศาสตร์แห่งชาติในการรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง  ( Healthy Thailand ) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกำลังได้รับความนิยมในหมู่ประชาชนทั่วไป โดยได้เปิดให้บริการการแพทย์แผนไทยหลายรูปแบบ ปัจจุบันงานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ได้เปิดให้บริการ นวดรักษาโรค,นวดเพื่อสุขภาพ,ประคบสมุนไพร,อบสมุนไพร, ดูแลแม่หลังคลอด บริการประชาชน ผู้รับบริการส่วนใหญ่จะมีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ ข้อต่อต่างๆ แต่ยังมีกลุ่มผู้ป่วยอีกกลุ่มหนึ่งที่น่าจะได้รับการดูแลด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยโดยวิธีการอบสมุนไพร คือ กลุ่มผู้ป่วยที่พบอัตราเสี่ยงสารเคมีในเลือด ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรง และสูง        ในปีงบประมาณ 2562 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตได้มีการเจาะเลือดเกษตรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด ร้อยละ ๖๗.๙๖ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๑ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๗.๑๔ ปลอดภัย ร้อยละ ๑๗.๑๔ เสี่ยง ร้อยละ ๔๕.๗๒ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๓๐.๐๐ กรณีพบว่า เสี่ยงและไม่ปลอดภัยในครั้งที่ ๑ เจาะเลือดเกษตรกรโดยใช้กระดาษ Reactive paper ครั้งที่ ๒ พบว่า ปกติ ร้อยละ ๑๓.๓๓ ปลอดภัย ร้อยละ ๒๖.๖๗ เสี่ยง ร้อยละ ๕๓.๓๓ และไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๖.๖๗ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต เห็นว่า เป็นสิ่งสำคัญในการบำบัดผู้ป่วยกลุ่มนี้ โดยให้ผู้ป่วยเลือกใช้บริการรักษาด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย เพื่อเป็นการลดค่ารักษาพยาบาลในหน่วยรับบริการสาธารณสุข นอกจากนี้ยังเป็นการอนุรักษ์และฟื้นฟูการใช้ภูมิปัญญาของคนไทย เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อบุคคลกลุ่มเสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1 ระดับ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ เรื่องปฏิบัติตัวอย่างไรไห้ปลอดสารเคมี
  2. บำบัดกลุ่มเสี่ยงโดยวิธีการอบสมุนไพร 3- ครั้ง / คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

บุคคลกลุ่มเสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1ระดับ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้ เรื่องปฏิบัติตัวอย่างไรไห้ปลอดสารเคมี

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้ เรื่องปฏิบัติตัวอย่างไรไห้ปลอดสารเคมี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติตัวและใช้ชิวิตอย่างไรให้ปลอดสารเคมี

 

50 0

2. บำบัดกลุ่มเสี่ยงโดยวิธีการอบสมุนไพร 3- ครั้ง / คน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัดกลุ่มเสี่ยงโดยวิธีการอบสมุนไพร 3- ครั้ง / คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1 ระดับ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน   1. ได้มีการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติตัวและใช้ชิวิตอย่างไรให้ปลอดสารเคมี   2.กลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1 ระดับ 2. ระยะเวลาดำเนินการ กรกฎาคม 2563 – กันยายน 2563
3. สถานที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ เงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต จำนวน 4,230 บาท (สี่พันสองร้อยสามสิบบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้     1 กิจกรรมการให้ความรู้ เรื่อง อยู่อย่างไรให้ปลอดสารเคมี และบำบัดกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยโดยวิธีการอบสมุนไพร แบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม             1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร และผู้จัด จำนวน 50 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท
    1.2 ชุดอบสมุนไพร (เสื้อ กางเกง ) จำนวน 10 ชุด ชุดละ 250 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
            1.3 ผ้าเช็ดตัว ผืนเล็ก ขนาด 12 x 12 นิ้ว จำนวน 2 โหล โหลละ 240 บาท  เป็นเงิน 480บาท รวมเป็นเงิน 4,230 บาท (สี่พันสองร้อยสามสิบบาทถ้วน) 5.งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ จำนวน 4,230 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง จำนวน 4,230 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ - 6. ผลที่ได้รับ 6.1 กลุ่มเกษตรกรที่เสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1 ระดับ 7. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน กลุ่มผู้ป่วยไม่สามารถรับบริการอบสมุนไพรติดต่อกันอย่างน้อย 3 วัน
แนวทางแก้ไข(ระบุ) อธิบายถึงผลข้างเคียงของสารเคมีตกค้างในร่างกาย ที่อาจจะเกิดขึ้นในระยะยาวถ้ายังไม่ตระหนักถึงสุขภาพของตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อบุคคลกลุ่มเสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1 ระดับ
ตัวชี้วัด : บุคคลกลุ่มเสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1 ระดับ
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อบุคคลกลุ่มเสี่ยงสารเคมีในเลือดลดลงอย่างน้อย 1  ระดับ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ เรื่องปฏิบัติตัวอย่างไรไห้ปลอดสารเคมี (2) บำบัดกลุ่มเสี่ยงโดยวิธีการอบสมุนไพร 3- ครั้ง / คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ บำบัดกลุ่มเสี่ยงสารเคมีด้วยวิธีการอบสมุนไพร จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด