โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” ”
หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
ที่อยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2563 ถึง 1 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2563 - 1 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และจำเป็นที่ต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ซึ่งสุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการทำงานของระบบบดเคี้ยว ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ และสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าควรส่งเสริมสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเท่านั้น แต่ความจริงแล้ววัยสูงอายุก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน เพราะเมื่อร่างกายมีอายุ มากขึ้น ระบบการทำงานของอวัยวะในร่างกายต่างๆ ก็จะเสื่อมสภาพ รวมทั้งเหงือกและฟันที่อยู่ในช่องปากด้วย
เป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๓ ในกลุ่มอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป คือ ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุมีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ อย่างน้อย ๒๐ ซี่จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7 ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๕ ในกลุ่มอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป พบว่าร้อยละ๕๗.๘ ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ ๒๐ ซี่ ส่วนในภาคใต้พบว่าร้อยละ ๕๑.๗ ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ ๒๐ ซี่ ผู้สูงอายุมีฟันแท้คู่สบ ๔ คู่ ขึ้นไป (ฟันแท้ทั้งหมด) ร้อยละ๓๗.๔ มีค่าเฉลี่ยคู่สบฟันหลัง ๓.๐ คู่/คน และผู้สูงอายุร้อยละ ๑๑.๒ ไม่มีฟันทั้งปาก
จากการสำรวจสภาวะช่องปาก ผู้สูงอายุตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง พบว่า ปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่ที่พบในผู้สูงอายุ คือ ตอฟันผุ และปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวอาหาร ซึ่งการป้องกันและควบคุมไม่ให้เกิดความผิดปกติ หรือรอยโรคใหม่ในช่องปาก เพื่อคงสภาพการใช้งานให้ได้ในวัยนี้ เป็นสิ่งจำเป็น ที่ต้องให้ความสำคัญ ดังนั้นการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องสม่ำเสมอ ทั้งโดยผู้สูงอายุเอง หรือโดยผู้ดูแล เพื่อควบคุมป้องกัน และส่งเสริมการมีสุขภาพช่องปากที่ดี
ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุ ในหมู่ที่ 5 บ้านควนปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ให้ความสำคัญของทันตสุขภาพของตนเองมากขึ้น และเป็นการส่งเสริม ป้องกัน ไม่ให้โรคในช่องปากลุกลามและทวีความรุนแรงมากกว่าเดิม อีกทั้งเป็นการสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคิดวางแผนแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดีต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
- ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง
3 .เกิดความร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาระหว่างทันตบุคลากร อสม. ผู้สูงอายุ บุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ
4.ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข และได้รับการวางแผนการรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
วันที่ 1 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์
2 การให้ความรู้ในการป้องกันฟันผุ การดูแลทำความสะอาดช่องปาก การตรวจฟันด้วยตนเองและอาหารที่ส่งผลต่อโรคฟันผุ
3 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ
4 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจช่องปาก และมีความรู้ในการดูแลช่องปากที่ถูกต้อง
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 87.10
3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการระดับมาก ร้อยละ 91.18
4.ผู้สูงอายุ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 67.51
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์
2 การให้ความรู้ในการป้องกันฟันผุ การดูแลทำความสะอาดช่องปาก การตรวจฟันด้วยตนเองและอาหารที่ส่งผลต่อโรคฟันผุ
3 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ
4 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลการดำเนินงาน
1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจช่องปาก และมีความรู้ในการดูแลช่องปากที่ถูกต้อง
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 87.10
3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการระดับมาก ร้อยละ 91.18
4.ผู้สูงอายุ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 67.51
3. ระยะเวลาดำเนินการ
วันที่ 13 , 14 , 20 , 21 และ 24 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563
- สถานที่ดำเนินการ
ศาลาประชุมหมู่บ้านหมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
เงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต จำนวน 3,975 บาท (สามพันเก้าร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
9.1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
9.1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร และผู้จัด จำนวน 55 คน x 1 มื้อๆ ละ x 25 บาท เป็นเงิน 1,375 บาท
9.1.2 ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการจำนวน 50 แผ่นๆ ละ x0.50 บาท เป็นเงิน 25 บาท
9.1.3 ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 แผ่นๆ ละ x 0.50 บาท เป็นเงิน 50 บาท
9.1.4 ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 แผ่นๆ ละ x 0.50 บาท เป็นเงิน 25 บาท
9.1.5 ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร เมตรๆ ละ 150 บาท จำนวน 1แผ่น x 450 เป็นเงิน 450 บาท
9.1.6 ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 50 ด้ามๆละ x 10 บาท เป็นเงิน 500 บาท
9.1.7 ค่ายาสีฟัน จำนวน 50 หลอดๆละ x 16 บาท เป็นเงิน 800 บาท
9.1.8 ค่ากระเป๋าตาข่ายสำหรับใส่อุปกรณ์แปรงฟัน จำนวน 50ใบๆละ x 15 บาท
เป็นเงิน 750 บาท
9.2 กิจกรรมเยี่ยมบ้านเชิงรุก โดยไม่ใช้งบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 3,975 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 3,975 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ -
- ผลที่ได้รับ
6.1 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจช่องปาก
6.2 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีความรู้ในการป้องกันโรคฟันผุและสามารถทำความสะอาดช่องปากหรือฟันเทียมได้อย่างถูกต้อง
6.3 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปสามารถตรวจช่องปากด้วยตนเองได้
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ผู้สูงอายุต้องการให้มรการจัดกิจกรรมทุกปี และให้นำอุปกรณ์เสริมที่ใช้ในการทำความสะอาดมาสาธิตเพิ่มเติมให้ผู้สูงอายุได้ฝึกปฏิบัติจริงด้วย
แนวทางแก้ไข(ระบุ)
วางแผนจัดซื้ออุปกรณ์เสริมที่ใช้ทำความสะอาดช่องปาก เช่น ไหมขดฟัน แปรงซอกฟัน แปรงกระจุกเดียว เพื่อนำมาให้ผู้สูงอายุทุกคนได้ฝึกใช้งานจริงๆ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง
2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
3.ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง
4.ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี
5.ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข และได้รับการวางแผนการรักษา
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” ”
หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2563 ถึง 1 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2563 - 1 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มประชากรที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และจำเป็นที่ต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ซึ่งสุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการทำงานของระบบบดเคี้ยว ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ และสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าควรส่งเสริมสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเท่านั้น แต่ความจริงแล้ววัยสูงอายุก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน เพราะเมื่อร่างกายมีอายุ มากขึ้น ระบบการทำงานของอวัยวะในร่างกายต่างๆ ก็จะเสื่อมสภาพ รวมทั้งเหงือกและฟันที่อยู่ในช่องปากด้วย
เป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๓ ในกลุ่มอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป คือ ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุมีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ อย่างน้อย ๒๐ ซี่จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7 ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๕ ในกลุ่มอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป พบว่าร้อยละ๕๗.๘ ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ ๒๐ ซี่ ส่วนในภาคใต้พบว่าร้อยละ ๕๑.๗ ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ ๒๐ ซี่ ผู้สูงอายุมีฟันแท้คู่สบ ๔ คู่ ขึ้นไป (ฟันแท้ทั้งหมด) ร้อยละ๓๗.๔ มีค่าเฉลี่ยคู่สบฟันหลัง ๓.๐ คู่/คน และผู้สูงอายุร้อยละ ๑๑.๒ ไม่มีฟันทั้งปาก จากการสำรวจสภาวะช่องปาก ผู้สูงอายุตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง พบว่า ปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่ที่พบในผู้สูงอายุ คือ ตอฟันผุ และปัญหาเรื่องการบดเคี้ยวอาหาร ซึ่งการป้องกันและควบคุมไม่ให้เกิดความผิดปกติ หรือรอยโรคใหม่ในช่องปาก เพื่อคงสภาพการใช้งานให้ได้ในวัยนี้ เป็นสิ่งจำเป็น ที่ต้องให้ความสำคัญ ดังนั้นการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องสม่ำเสมอ ทั้งโดยผู้สูงอายุเอง หรือโดยผู้ดูแล เพื่อควบคุมป้องกัน และส่งเสริมการมีสุขภาพช่องปากที่ดี ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุ ในหมู่ที่ 5 บ้านควนปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ให้ความสำคัญของทันตสุขภาพของตนเองมากขึ้น และเป็นการส่งเสริม ป้องกัน ไม่ให้โรคในช่องปากลุกลามและทวีความรุนแรงมากกว่าเดิม อีกทั้งเป็นการสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคิดวางแผนแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดีต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
- ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง 3 .เกิดความร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาระหว่างทันตบุคลากร อสม. ผู้สูงอายุ บุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ 4.ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข และได้รับการวางแผนการรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 2 การให้ความรู้ในการป้องกันฟันผุ การดูแลทำความสะอาดช่องปาก การตรวจฟันด้วยตนเองและอาหารที่ส่งผลต่อโรคฟันผุ 3 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ 4 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์
2 การให้ความรู้ในการป้องกันฟันผุ การดูแลทำความสะอาดช่องปาก การตรวจฟันด้วยตนเองและอาหารที่ส่งผลต่อโรคฟันผุ
3 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ
4 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลการดำเนินงาน
1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจช่องปาก และมีความรู้ในการดูแลช่องปากที่ถูกต้อง
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 87.10
3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการระดับมาก ร้อยละ 91.18
4.ผู้สูงอายุ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 67.51
3. ระยะเวลาดำเนินการ
วันที่ 13 , 14 , 20 , 21 และ 24 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563
- สถานที่ดำเนินการ ศาลาประชุมหมู่บ้านหมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
เงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต จำนวน 3,975 บาท (สามพันเก้าร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
9.1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
9.1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร และผู้จัด จำนวน 55 คน x 1 มื้อๆ ละ x 25 บาท เป็นเงิน 1,375 บาท
9.1.2 ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการจำนวน 50 แผ่นๆ ละ x0.50 บาท เป็นเงิน 25 บาท
9.1.3 ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 แผ่นๆ ละ x 0.50 บาท เป็นเงิน 50 บาท
9.1.4 ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 แผ่นๆ ละ x 0.50 บาท เป็นเงิน 25 บาท
9.1.5 ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร เมตรๆ ละ 150 บาท จำนวน 1แผ่น x 450 เป็นเงิน 450 บาท
9.1.6 ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 50 ด้ามๆละ x 10 บาท เป็นเงิน 500 บาท
9.1.7 ค่ายาสีฟัน จำนวน 50 หลอดๆละ x 16 บาท เป็นเงิน 800 บาท
9.1.8 ค่ากระเป๋าตาข่ายสำหรับใส่อุปกรณ์แปรงฟัน จำนวน 50ใบๆละ x 15 บาท
เป็นเงิน 750 บาท 9.2 กิจกรรมเยี่ยมบ้านเชิงรุก โดยไม่ใช้งบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 3,975 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 3,975 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ - - ผลที่ได้รับ 6.1 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจช่องปาก 6.2 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีความรู้ในการป้องกันโรคฟันผุและสามารถทำความสะอาดช่องปากหรือฟันเทียมได้อย่างถูกต้อง 6.3 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปสามารถตรวจช่องปากด้วยตนเองได้ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ผู้สูงอายุต้องการให้มรการจัดกิจกรรมทุกปี และให้นำอุปกรณ์เสริมที่ใช้ในการทำความสะอาดมาสาธิตเพิ่มเติมให้ผู้สูงอายุได้ฝึกปฏิบัติจริงด้วย แนวทางแก้ไข(ระบุ) วางแผนจัดซื้ออุปกรณ์เสริมที่ใช้ทำความสะอาดช่องปาก เช่น ไหมขดฟัน แปรงซอกฟัน แปรงกระจุกเดียว เพื่อนำมาให้ผู้สูงอายุทุกคนได้ฝึกใช้งานจริงๆ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 3.ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง 4.ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข และได้รับการวางแผนการรักษา |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......