กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้


“ โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสุทธิมา โตะมะ

ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6957-1-05 เลขที่ข้อตกลง 5/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L6957-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างสมรรถนะ ให้คนเรามีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และเป็นผลให้บุคคลมีสุขภาพดีขึ้น การส่งเสริมสุขภาพ เป็นการเอื้ออำนวยให้มีสภาวะร่างกาย จิตใจ และความเป็นอยู่ในสังคมที่สมบูรณ์ บุคคล หรือชุมชนสามารถระบุสิ่งที่จำเป็น ในการที่จะบรรลุการมีสุขภาพดี และในการเปลี่ยน หรือการจัดสิ่งแวดล้อมสุขภาพนั้น ถือเป็นแนวความคิดด้านบวกที่เน้นทรัพยากรทางสังคมและส่วนบุคคลมาก เท่ากับเน้นความสามารถทางกาย โดยนัยนี้ การส่งเสริมสุขภาพจึงไม่ใช่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านสุขภาพเท่านั้น แต่รวมไปถึงการที่ประชาชนมีการปฏิบัติให้เกิดวิถีชีวิตที่ดี เพื่อความเป็นอยู่ที่ดี
กระทรวงสาธารณสุข  และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยมีเป้าหมายประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปทุกราย ต้องได้รับการตรวจคัดกรอง ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูง และการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยง และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น โดยบุคลากรสาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขในหมู่บ้าน เพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง
  การคัดกรองและป้องกันความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีเป้าหมายสำคัญ คือสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจึงเน้นกิจกรรมในส่วนของงานบริการเชิงรุก จากการดำเนินการคัดกรองในปี ๒๕๖2 พบว่าประชากรได้รับการคัดกรองความดัน ร้อยละ ๙๔.97 พบกลุ่มเสี่ยงจำนวน 218 คนคิดเป็นร้อยละ 32.11 กลุ่มเสี่ยงสูงจำนวน 69 คนคิดเป็นร้อยละ 10.16 และได้รับการคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ ๙6.02 พบกลุ่มเสี่ยงจำนวน 262 คนคิดเป็นร้อยละ 31.04 กลุ่มเสี่ยงสูงจำนวน 16 คนคิดเป็นร้อยละ 1.90 มีกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๕0.28 โดยกลุ่มเสี่ยงที่กลายเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 7 รายคิดเป็นร้อยละ 10.14 และกลุ่มเสี่ยงที่กลายเป็นผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 25 จากปัญหาดังกล่าวหากได้มีการตรวจค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้น จะเป็นการช่วยให้กลุ่มเสี่ยงรู้จักวิธีการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องจะช่วยลดการเพิ่มจำนวนผู้ป่วยรายใหม่และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคอื่นๆที่จะตามมาได้เป็นอย่างมาก จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรู้เท่าทัน ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักและเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ชิด พร้อมเป็นการเพิ่มศักยภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงสุขภาพจิตดีเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่จะเกิดขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแยกประชากรตามกลุ่ม(กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย)
  2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเอง
  3. เพื่อป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด
  5. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปานกลาง/ เสี่ยงสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
  6. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด
  2. จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตสูง
  3. ติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงจาการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 749
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร้อยละ ๙๐ ๒. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง ๓. ประชาชนมีสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้ ๔. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม อย่างต่อเนื่อง ๕. อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด

วันที่ 19 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองกลุ่มผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง

 

795 0

2. จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตสูง

วันที่ 19 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองกลุ่มผู้มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง

 

7,490 0

3. ติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงจาการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 19 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงจาการคดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 90% มีการติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงจากการคัดกรองโรคดังกล่าวได้ทันเวลาเนื่องจากมีวัสดุ อุปกรณ์พร้อมใช้งานและได้รับความร่วมมือจากประชาชน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแยกประชากรตามกลุ่ม(กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย)
ตัวชี้วัด : -คัดกรองผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ร้อยละ ๙๐
0.00

 

2 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๕๐
0.00

 

3 เพื่อป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ให้การรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามระบบการรักษาครอบคลุม ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๕๐
0.00

 

5 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปานกลาง/ เสี่ยงสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง/เบาหวานได้รับการส่งต่อร้อยละ 10๐
0.00

 

6 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง/เบาหวานเป็นผู้ป่วยรายใหม่ไม่เกินร้อยละ ๑๐/๕
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 799
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 749
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแยกประชากรตามกลุ่ม(กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย) (2) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเอง (3) เพื่อป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด (5) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปานกลาง/ เสี่ยงสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ (6) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด (2) จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตสูง (3) ติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงจาการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L6957-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุทธิมา โตะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด