กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์


“ ชาวเกียร์ร่วมด้วยช่วยกันเพื่อตำบลเกียร์ สวย สะอาด และปราศจากโรค ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางแฉล้ม เพ็ชรนิล

ชื่อโครงการ ชาวเกียร์ร่วมด้วยช่วยกันเพื่อตำบลเกียร์ สวย สะอาด และปราศจากโรค ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2530-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ชาวเกียร์ร่วมด้วยช่วยกันเพื่อตำบลเกียร์ สวย สะอาด และปราศจากโรค ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชาวเกียร์ร่วมด้วยช่วยกันเพื่อตำบลเกียร์ สวย สะอาด และปราศจากโรค ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " ชาวเกียร์ร่วมด้วยช่วยกันเพื่อตำบลเกียร์ สวย สะอาด และปราศจากโรค ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2530-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 83,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในรอบระยะเวลาตั้งแต่ ปี ๒๕๕๗-๒๕๕๙ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไอยามู ที่รับผิดชอบดูแลประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเกียร์นั้น ในปีพ.ศ.๒๕๕๗ได้มีรายงานการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๒ ราย โรคตาแดงจำนวน ๔๑ ราย และโรคอุจราระร่วงจำนวน ๕๕ ราย ในปีพ.ศ. ๒๕๕๘ มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน ๕ ราย ไข้มาลาเรีย จำนวน ๔ ราย โรคตาแดงจำนวน ๑ ราย และโรคอุจราระร่วง จำนวน ๔๐ ราย และในปี พ.ศ.๒๕๕๙ มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน ๔ ราย ไข้มาลาเรีย จำนวน ๑๒ รายโรคตาแดงจำนวน ๔ ราย และโรคอุจราระร่วงจำนวน ๕๑ รายซึ่งจะเห็นได้ว่าจำนวนผู้ป่วยในเกือบทุกโรคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ที่ผ่านมาทางกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกียร์ ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ และการควบคุมป้องกันโรค ให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไอยามู อย่างต่อเนื่อง แต่ในการดำเนินงานด้านนี้ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ไอยามู ยังขาดการบูรณาการ กับทั้งภาครัฐและประชาชน เป็นการทำงานฝ่ายเดียว ประชาชนยังไม่ให้ความสำคัญในการร่วมกันดูแล และใส่ใจในสุขภาวะ อันจะส่งผลให้การจัดการด้านสุขภาพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควรทำให้จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคต่างๆ ยังคงสูง เพื่อให้เกิดการบูรณาการ และการดำเนินงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ไอยามู จึงได้จัดทำโครงการชาวเกียร์ร่วมด้วยช่วยกัน เพื่อตำบลเกียร์ สวย สะอาด และปราศจากโรค ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในงานควบคุมโรคให้มากขึ้น
  2. เพื่อให้ประชาชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายมีความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรค การดูแล สุขภาพตนเอง และสามารถดูแลเพื่อนบ้านได้ ให้มากขึ้น
  3. เพื่อให้เกิดความร่วมมือแบบบูรณาการระหว่าง หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย,ไข้เลือดออก,โรคอุจจาระร่วง และโรคตาแดง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ประชาชนเห็นความสำคัญและตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อที่มีอยู่ในพื้นที่มากขึ้น ๒.ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ๓.ประชาชน ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคด้วยการช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมทั้ง ที่บ้านและชุมชน ๔.มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ให้มากขึ้น ๕.ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคอุจจาระร่วง และโรคติดต่ออื่นลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในงานควบคุมโรคให้มากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ประชาชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายมีความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรค การดูแล สุขภาพตนเอง และสามารถดูแลเพื่อนบ้านได้ ให้มากขึ้น
    ตัวชี้วัด : แกนนำควบคุมโรคประจำหมู่บ้านเข้าร่วมประชุมร้อยละ ๙๕

     

    3 เพื่อให้เกิดความร่วมมือแบบบูรณาการระหว่าง หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย,ไข้เลือดออก,โรคอุจจาระร่วง และโรคตาแดง
    ตัวชี้วัด : 1.พ่นสารเคมีครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 2.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียต้องลดลง ๕๐ %จาก จำนวนผู้ป่วย ในปี ๒๕๕๙ ไม่นับผู้ป่วยที่มา จากนอกพื้นที่ หรือ Import case 3.จำนวนผู้ที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ต้องไม่เกิน ร้อยละ ๕๕ / แสนประชากร ไม่นับผู้ป่วยที่มาจาก นอกพื้นที่ หรือ Importcase 4.หลังคาเรือนมีการทำความสะอาดพร้อมกันเดือนละ ๑ ครั้ง ร้อยละ ๙๕

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในงานควบคุมโรคให้มากขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายมีความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรค การดูแล สุขภาพตนเอง และสามารถดูแลเพื่อนบ้านได้ ให้มากขึ้น (3) เพื่อให้เกิดความร่วมมือแบบบูรณาการระหว่าง หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย,ไข้เลือดออก,โรคอุจจาระร่วง และโรคตาแดง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ชาวเกียร์ร่วมด้วยช่วยกันเพื่อตำบลเกียร์ สวย สะอาด และปราศจากโรค ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2530-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแฉล้ม เพ็ชรนิล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด