กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและบริเวณชุมชนรอบข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนมาตลอด ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกัน ให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่าที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป ในปี 2563 คิดเป็นร้อยละ 34 ยังจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยังมีนักเรียนที่อ้วนและผอมอยู่ เด็กกลุ่มนี้ยังขาดวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์และขาดการออกกำลังกายเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพช่องปาก และปัญหาสุขภาพช่องปากแม้ว่าทางโรงเรียนได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบนักเรียนกลุ่มนี้ ร้อยละ 43 สาเหตุมาจากพฤติกรรมชองนักเรียน ที่ไม่ใส่ใจเรื่องฟันของตนเองและไม่แปรงฟันหลังรับประทานอาหารหรือก่อนนอน จำเป็นอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน และที่ผ่านมาครูได้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ใส่ใจเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง เช่น บางคนเล็บยาว เป็นเหา แต่งกายมาโรงเรียนไม่ค่อยเรียบร้อย เป็นต้น ซึ่งการปลูกฝังนิสัย ระเบียบที่ดีให้กับเด็กถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ และการส่งเสริมให้เด็กได้ดูแลสุขภาพของตนเองถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ ที่สามารถช่วยลดการเกิดโรคต่างๆ ได้ เช่น การฝึกให้เด็กล้างมือทุกครั้งก่อนรับระทานอาหารหรือหลังจากเข้าห้องน้ำ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้นับว่าเป็นเรื่องที่จำเป็นที่ทางโรงเรียนต้องดำเนินการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน

    จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านไสใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ สุขภาพช่องปาก และการส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน และการดำเนินการแก้ไขจำเป็นจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนลดลง

ผลการดำเนินการโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ จากการประเมินกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน

  • จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563 และวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2 ครั้ง ประชุมเรื่องการจัดโครงการไสใหญ่วัยใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 10 คน ผลการประชุม คณะกรรมการมีมติให้ความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ ร้อยละ 100 ให้สามารถจัดกิจกรรมดังกล่าวได้ ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ ภายใต้มาตรการป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19

กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์

  • เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังการดำเนินโครงการ พบว่า มีเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 40

  • เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 45

  • นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 โดยการใช้แบบสำรวจภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบของนักเรียน

  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟันและโรคฟันผุลดลง

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน

  • นักเรียนและผู้ปกครอง ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองตามหลักสุขอนามัย

  • นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ