กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

รายงานการประเมินผลโครงการโรงเรียนสะอาด ปราศจากโรคติดต่อในท้องถิ่น ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2563 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงนำโรคในโรงเรียนและชุมชน 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะของนักเรียน มีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้

กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ๓Rs/สาธิตการจัดทำถังขยะอินทรีย์แก่นักเรียนและผู้ปกครอง โรงเรียนได้ดำเนินการจัดการอบรมโดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง  การจัดการขยะแบบ๓Rsและสาธิตการจัดทำถังขยะอินทรีย์แก่นักเรียนและผู้ปกครอง โดยมีเป้าหมาย นักเรียน ป.๑ – ป.๖ จำนวน ๘๗ คน ผู้ปกครอง จำนวน ๓๐ คน ครู จำนวน ๙ คน รวมจำนวน ๑๒๖ คน และตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ ๓Rs และร้อยละ ๔๐ ของครัวเรือน โรงเรียน มีการจัดทำถังขยะอินทรีย์ พบว่า ผลจากการทดสอบความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๐๙ และผลจากการทดสอบความรู้หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๑๗ จำนวนครัวเรือนและโรงเรียนมีการจัดทำถังขยะอินทรีย์ คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๓๐ ทางโรงเรียนได้สำรวจความพึงพอใจเพิ่มเติม พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย ๘๘.๘๓ เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการจัดการขยะแบบ ๓Rs มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ๙๔.๑๓ รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการคัดแยกขยะที่ต้นทาง มีค่าเฉลี่ย ๙๑.๔๓ ส่วนความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อสาธิตการจัดทำถังขยะอินทรีย์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ๘๖.๐๓

กิจกรรมที่ ๒ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะของนักเรียน โรงเรียนดำเนินการจัดการขยะแบบ 3Rs การคัดแยกขยะตามประเภทของขยะ การสร้างแกนนำนักเรียนผู้ปกครอง ติดตามผลการดำเนินงานและร่วมกำหนดมาตรการในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในท้องถิ่นและและการจัดการขยะ โดยมีเป้าหมายนักเรียน ป.1 - ป.6 จำนวน 87 คน ผู้ปกครอง จำนวน 30 คน ครู จำนวน 9 คน แกนนำนักเรียน จำนวน 20 คน แกนนำชุมชน 10 คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียนร้อยละ 80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการคัดแยกขยะ และคัดแยกขยะได้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล พบว่านักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะ และคัดแยกขยะแต่ละประเภทลงในภาชนะรองรับขยะที่จัดเตรียมได้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 88.76 มีแกนนำสุขภาพนักเรียนและแกนนำสุขภาพผู้ปกครองเกิดขึ้น จำนวน 4 กลุ่ม และมีการดำเนินกิจกรรมเป็นปัจจุบัน และมีการกำหนดมาตรการในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในท้องถิ่นและการจัดการขยะ จำนวน 7 มาตรการ

กิจกรรมที่ 3 ปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน ให้เป็นพื้นที่สีเขียว โรงเรียนดำเนินการจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะ กิจกรรม Bic cleaning day ติดป้ายห้ามนำภาชนะโฟมมาใช้ในสถานศึกษา รณรงค์การใช้แก้วน้ำส่วนตัวแทนการใช้แก้วพลาสติก ส่งเสริมสนับสนุนการใช้ถุงผ้า ปิ่นโต ภาชนะบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมลดการใช้ถุงพลาสติก และการสำรวจค่า HI และค่า CI โดยนักเรียนแกนนำอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง เป้าหมาย นักเรียน ป.1 - ป.6 จำนวน 87 คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ค่า HI ลดลงไม่เกินร้อยละ 10 ส้วนค่า CI ลดลง โดยค่า HI ลดลงเหลือร้อยละ 0 และค่า CI ลดลง ไม่เกินร้อยละ 0 ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน เป็นผลปริมาณของยุงลายลดลงด้วย

โรงเรียนได้ดำเนินการตคามระบบ PDCA โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนและวิทยากรจากภายนอก มาจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมาย เห็นได้จากนักเรียน ผู้ปกครอง ในชุมชนมรจิตสำนึกในการคัดแยกขยะโดยการใช้กระบวนการ 3Rs เข้ามาขับเคลื่อนในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้อย่างเป็นระบบ ทำให้โรงเรียนสะอาดร่มรื่น น่าอยู่ น่าเรียน มีภูมิทัศน์ แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อมภายทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการจัดการเรียน โรงเรียนปราศจากโรคติดต่อในท้องถิ่น ทำให้ผู้เรียนมีสุขภาพที่ดี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ ตลอดจนการรู้จักวิธีกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและแมง ซึ่งเป็นพาหะนำโรคต่างๆลดลง ทำให้โรงเรียน ชุมชนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ