โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง ”
ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางรัชนุ สุวรรณรัตน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าประดู่
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
ที่อยู่ ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,515.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ในโยบายให้ดำเนินการโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เพื่อให้บริการนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน มีคุณค่าทางโภชนาการ อันจะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค และเมื่อนักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ย่อมส่งผลให้มีการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญาดีขึ้นด้วย นักเรียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้เต็มศักยภาพ
นอกจากจะพบปัญหาด้านโภชนาการในกลุ่มเด็กและเยาวชนแล้ว ยังพบว่าปัญหาด้านความปลอดภัยในอาหารถือเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญ เนื่องจากการตรวจพบสารพิษตกค้างในพืชผักที่ใช้ในการประกอบอาหารที่ส่งผลในระยะยาวต่อสุขภาพของเด็กและเยาวชน อันเนื่องมาจากการขาดการดูแลเรื่องความปลอดภัยของอาหาร
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลท่าประดู่ ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการอาหารกลางวัน โดยให้ความสำคัญกับวัตถุดิบที่จะนำมาประกอบอาหารกลางวันที่ปลอดจากสารพิษ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และสนองตอบนโยบายของรัฐบาล และสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ทำโครงการเกษตรปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวัน โดยมุ้งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักทำการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง ทำการเกษตรแบบอินทรีย์ รู้จักการทำนา ปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว์ ทำปุ๋ยหมัก เพาะเห็ด เลี้ยงไก่ไข่ และเลี้ยงปลา เป็นต้น เป็นการสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร เพิ่มผักในเมนูอาหาร ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของผู้เรียน ลดภาวการณ์ขาดสารอาหารและภาวะโภชนาการที่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ทั้งยังสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชน ขยายต่อความรู้ด้านการจัดการอาหารปลอดภัยนำกลับไปทำที่บ้าน เพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารภายในครัวเรือน ขยายต่อเป็นอาชีพ เพื่อสร้างความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนให้เกิดขึ้นภายในครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
37
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีภาวะโภชนาการดีอยู่ในเกณฑ์ปกติ
2. นักเรียนมีความรู้และทักษะด้านการเกษตรพื้นฐาน รู้จักพืชผักต่างๆ
3. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน
4 นักเรียนมีอาหาร พืชผักปลอดสารพิษสามารถนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวันในโรงเรียน
4 นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นสร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
37
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
37
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรัชนุ สุวรรณรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง ”
ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางรัชนุ สุวรรณรัตน์
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,515.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ในโยบายให้ดำเนินการโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เพื่อให้บริการนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน มีคุณค่าทางโภชนาการ อันจะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค และเมื่อนักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ย่อมส่งผลให้มีการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญาดีขึ้นด้วย นักเรียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้เต็มศักยภาพ นอกจากจะพบปัญหาด้านโภชนาการในกลุ่มเด็กและเยาวชนแล้ว ยังพบว่าปัญหาด้านความปลอดภัยในอาหารถือเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญ เนื่องจากการตรวจพบสารพิษตกค้างในพืชผักที่ใช้ในการประกอบอาหารที่ส่งผลในระยะยาวต่อสุขภาพของเด็กและเยาวชน อันเนื่องมาจากการขาดการดูแลเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลท่าประดู่ ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการอาหารกลางวัน โดยให้ความสำคัญกับวัตถุดิบที่จะนำมาประกอบอาหารกลางวันที่ปลอดจากสารพิษ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และสนองตอบนโยบายของรัฐบาล และสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ทำโครงการเกษตรปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวัน โดยมุ้งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักทำการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง ทำการเกษตรแบบอินทรีย์ รู้จักการทำนา ปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว์ ทำปุ๋ยหมัก เพาะเห็ด เลี้ยงไก่ไข่ และเลี้ยงปลา เป็นต้น เป็นการสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร เพิ่มผักในเมนูอาหาร ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของผู้เรียน ลดภาวการณ์ขาดสารอาหารและภาวะโภชนาการที่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ทั้งยังสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชน ขยายต่อความรู้ด้านการจัดการอาหารปลอดภัยนำกลับไปทำที่บ้าน เพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารภายในครัวเรือน ขยายต่อเป็นอาชีพ เพื่อสร้างความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนให้เกิดขึ้นภายในครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 37 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีภาวะโภชนาการดีอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. นักเรียนมีความรู้และทักษะด้านการเกษตรพื้นฐาน รู้จักพืชผักต่างๆ 3. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน 4 นักเรียนมีอาหาร พืชผักปลอดสารพิษสามารถนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวันในโรงเรียน 4 นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นสร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 37 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 37 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรัชนุ สุวรรณรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......