กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุร์ฮายาตี แวและ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-1-14 เลขที่ข้อตกลง 14/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2492-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น  จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข  เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากผลการการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ปี ๒๕๖๒ ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน ๒,๔๘๔ คนคิดเป็นร้อยละ ๙๔.๐๗ พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๐๔ คิดเป็นร้อยละ ๔.๒๐ และกลุ่มเสี่ยงสูงจำนวน ๒๔ คนคิดเป็นร้อยละ๐.๙๗ และประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงเบาหวานจำนวน ๒,๘๙๐ คนคิดเป็นร้อยละ ๙๔.๘๑ พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน ๑,๖๘๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๔๗ นอกจากนี้กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน ในเขตรับผิดชอบ ปี ๒๕๖๒ ได้รับการคัดกรองCVD Risk จำนวนทั้งสิ้น ๕๑๔ คนคิดเป็นร้อยละ๙๖.๒๕ ราย และจากการตรวจประเมินค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยแต่ละราย พบว่า ผู้ป่วยบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะส่งผลกระทบนั่น คือ การเกิดภาวะแทรกซ้อนในอนาคตได้ ดังนั้น  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  3. เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าวัสดุ อบรมฯ
  2. ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  3. อบรมให้ความรู้ ประชาชนกลุ่มสี่ยงเป้าหมาย 220 คน
  4. อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยความดัน-เบาหวาน หัวใจ และคัดกรอง CVD RISKเป้าหมาย 200 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน
  2. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสม
  3. อสม. มีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน อย่างถูกต้องและสามารถให้แนะนำในการปฏิบัติตนและการรักษาได้อย่างเหมาะสม
  4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย ได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก ๓ อ. ๒ ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1.2x3 เมตร จำนวน 5 ผืน ๆ ละ 900 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1.2x3 เมตร จำนวน 5 ผืน

 

0 0

2. ค่าวัสดุ อบรมฯ

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • สมุด 420 เล่ม ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
  • ปากกาลูกลื่น 420 ด้าม ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
  • กระดาษบรู๊พสร้างแบบ จำนวน 5 โหล ๆ ละ 36 บาท เป็นเงิน 180 บาท
  • กระดาษ A4 จำนวน 2 รีม ๆ ละ 155 บาท เป็นเงิน 290 บาท
  • คลิ๊บดำ No.112 จำนวน 4 กล่อง ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 100 บาท
  • ปากกาเคมี 2 หัว จำนวน 12 ด้าม ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 180 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สมุด 420 เล่ม
  • ปากกาลูกลื่น 420 ด้าม
  • กระดาษบรู๊พสร้างแบบ จำนวน 5 โหล
  • กระดาษ A4 จำนวน 2 รีม
  • คลิ๊บดำ No.112 จำนวน 4 กล่อง
  • ปากกาเคมี 2 หัว จำนวน 12 ด้าม

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้ ประชาชนกลุ่มสี่ยงเป้าหมาย 220 คน

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 220 คน X 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 11,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 220 คน X 25 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 11,000 บาท
  • ค่าสัมมนาคุณวิทยากร ชม.ละ 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 220 คน
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 220 คน
  • สัมมนาคุณวิทยากร 1 คน จำนวน 6 ชั่วโมง

 

220 0

4. อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยความดัน-เบาหวาน หัวใจ และคัดกรอง CVD RISKเป้าหมาย 200 คน

วันที่ 18 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน  จำนวน 200 คน X 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 200 คน X 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
  • ค่าสัมมนาคุณวิทยากร ชม.ละ 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อาหารกลางวันจำนวน 1 มื้อ  จำนวน 200 คน
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 200 คน
  • สัมมนาคุณวิทยากร 1คน จำนวน 6 ชั่วโมง

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน ร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60
60.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตาใจไตเท้า ร้อยละ 60
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 420
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าวัสดุ อบรมฯ (2) ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ (3) อบรมให้ความรู้ ประชาชนกลุ่มสี่ยงเป้าหมาย 220 คน (4) อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยความดัน-เบาหวาน หัวใจ  และคัดกรอง CVD RISKเป้าหมาย 200 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนุร์ฮายาตี แวและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด