กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L2492-1-19
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สาธารณสุขอำเภอเมืองนราธิวาส
วันที่อนุมัติ 19 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน 31 กรกฎาคม 2563
งบประมาณ 70,370.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอดุลย์ มูซอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.482,101.763place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อำเภอเมืองนราธิวาส พบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๑,๑๒๕ ราย คิดเป็นความชุกร้อยละ ๑.๓๕ และผู้ป่วยโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มีเพียงร้อยละ ๒๗.๓๙ ส่วนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในเขตโคกเคียน มีจำนวน ๑,๔๑๐ ราย คิดเป็นร้อยละ๓๒.๙o ของประชากร (ที่มา:HDCสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส )ซึ่งผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควรได้รับการติดตามตรวจวัดความดันโลหิตที่บ้าน ต่อเนื่อง 6 เวลา เข้าและเย็น อย่างน้อย ๑ สัปดาห์ก่อนไปตามนัดรับยาที่โรงพยาบาล เพื่อตรวจหาวัดค่าระดับความดันโลหิตที่แท้จริง รวมทั้งกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่มีค่าระดับความดันโลหิต มากกว่า ๑๔๐/๙o mmHg ทุกรายควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต เพื่อการเข้าถึงการวินิจฉัยที่ถูกต้อง เนื่องจากผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีสาเหตุหรือปัจจัยอื่นที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง ไม่ได้ป่วยด้วยโรคความตันโลหิตสูงที่แท้จริง และที่ผ่านมา จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่มีจำนวนมาก กระจายอยู่ในทุกพื้นที่ของตำบลโคกเคียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จะเป็นบุคลากรที่สำคัญในการขับเคลื่อนงานวัดความดันโลหิตในชุมชน จากการประเมินการให้เครื่องวัดความดัน โลหิต ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ชุมชนตำบลโคกเคียน ยังใช้ไม่ถูกขั้นตอนและยังไม่เคยรับการอบรมจากหลักสูตรที่ทั้งหมดตำบลครบถ้วนและได้สำรวจเครื่องวัดความดันโลหิตที่ใช้ในชุมชน มีการชำรุดและมีไม่เพียงพอสำหรับการให้บริการ โคกเคียน ทั้ง ๑๓ หมู่บ้าน ที่มีความจำเป็นต้องจัดบริการติดตามวัดความดันโลหิตให้กับกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างต่อเนื่อง     ความเร่งด่วนพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีศักยภาพเหมาะสมในการดูและประชาชนในเขตตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส กลุ่มเสี่ยง และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิต สูงที่บ้าน ต่อเนื่องได้รับการติดตามระดับความดันโลหิตจาก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่ถูกต้องเหมาะสม เป็นบริการแบบใกล้บ้าน จึงเป็นความเร่งด่วนในการจัดทำโครงการนี้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ ยงต่อโรคความดันโลหิต สูงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจประเมินและ ติดตามภาวะสุขภาพทางร่างกายและสามารถดู แลตนเองได้

ร้อยละ ความครอบคลุมในการวัดความดันโลหิต ในหมู่บ้านให้แก่ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง มากกว่าร้อยละ ๘๐

80.00
2 เพื่อเสริมสร้างให้ อสม.มีศักยภาพในการจัดบริการ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะการติดตามการวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง

อสม.สามารถ ใช้เครื่องวัดความดันโลหิต ถูกต้องและวิธีการวัดความดันโลหิตอย่างถูกต้อง มากกว่า ร้อยละ ๙๐

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 129 70,370.00 4 70,390.00
21 ส.ค. 63 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน (เจ้าหน้าที่ผู้รับงาน ๒ รพ.สต. แห่ง ละ ๓ คน เจ้าหน้าที่ สสอ.เมือง ๓ คน รวม ๙ คน) 9 900.00 900.00
17 - 18 ก.ย. 63 ประชุมเชิงปฏิบัติการทักษะการวัดความดันโลหิตสูง แก่ อสม.สำหรับให้บริการ แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรค ความดันโลหิตสูง ในชุมชน จำนวน ๑๒๐ คน จัดกิจกรรม ๒ วัน วันละ ๖o คน 120 31,270.00 31,270.00
17 - 18 ก.ย. 63 สนับสนุนเครื่องวัดความดันโลหิต ที่มีมาตรฐานทาง การแพทย์แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะเพื่อให้ เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านไปวัด ความดันโลหิต แก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ในชุม 0 37,500.00 37,500.00
28 - 29 ก.ย. 63 นิเทศและติดตามงานการดำเนินกิจกรรม ดูแลวัดความดันที่บ้านแก่กลุ่มเสี่ยงเเละผู้ป่วยความดันโลหิตในชุมชน ที่ รพสต.ปีละ ๒ ครั้ง (แผนนิเทศภาคผนวก๒) 0 700.00 720.00

๑.ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเกี่ยวกับแผนการดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.ในการลงวัดความดันโลหิตที่บ้าน ๒.ประชุมเชิงปฏิบัติการทักษะการวัดความดันโลหิตแก่อสม. สำหรับจัดบริการในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง ๓.นิเทศติดตามการดำเนินงาน ปีละ ๒ ครั้ง ๔.สรุปผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านก่อนพบแพทย์เพื่อการเข้าถึงการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ๒.กลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยได้รับการรักษาที่ถูกต้องชะลอการเกิดภาวะแทรกช้อนต่างๆและส่งผลให้มีชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุข

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2563 09:55 น.