กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
รพสต.

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่เป็นสาเหตุหลักของอาการเจ็บปวดและการสูญเสียฟันน้ำนมคือโรคฟันผุ ซึ่งในเด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี ที่ใช้เป็นตัวแทนในการติดตามการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมพบว่า เด็กอายุ 3 ปี ซึ่งเป็น ขวบปีแรกที่มีฟันน้ำนมขึ้นครบ 20 ซี่ มีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 31.1 มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 52.9 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 2.8 ซี่/คน และร้อยละ 2.3 ของเด็กอายุ 3 ปี มีประสบการณ์ การสูญเสียฟันในช่องปาก นอกจากนี้พบว่าเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 52.0 หรือ เฉลี่ย 2.7 ซี่/คน ความชุกของการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี พบสูงสุดในภาคกลางและภาคใต้ ร้อยละ 57.9 และ 57.0 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 3.5 ซี่/คน และ 3.1 ซี่/คน ตามลำดับ ในขณะที่เด็กอายุ 3 ปี ในภาค เหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความชุกของโรคฟันผุน้อยกว่า คือ ร้อยละ 51.0 และ 48.3 ค่าเฉลี่ย ฟันผุ ถอน อุด 2.5 ซี่/คน และ 2.3 ซี่/คน ตามลำดับ ความชุกการเกิดโรคฟันผุในเขตชนบท สูงกว่า เขตเมืองและกรุงเทพมหานคร โดยเขตชนบทพบ ร้อยละ 56.0 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 3 ซี่/คน เขตเมือง และกรุงเทพมหานครพบร้อยละ 50.2 และ 49.5 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 2.6 ซี่/คน และ 2.5 ซี่/คน ตามลำดับ
ผลสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กอายุ 5 ปี พบว่ามีฟันผุระยะเริ่มต้น 31.3 ความชุกในการ เกิดโรคฟันผุร้อยละ 75.6 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 4.5 ซี่/คน โดยพบสูงสุดในเขตภาคใต้และภาคเหนือ คือ ร้อยละ 80.2 และ 78.3 ค่าเฉลี่ย ฟันผุ ถอน อุด 5.1 และ 4.4 ซี่/คน ตามลำดับ ในขณะที่เด็กอายุ 5 ปี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง มีความชุกของโรคฟันผุน้อยกว่า คือ ร้อยละ74.7 และ 74.2 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 4.0 และ 5.2 ซี่/คน ตามลำดับ อัตราการเกิดโรคฟันผุในเขตชนบท สูงกว่า เขตเมืองและกรุงเทพมหานคร โดยเขตชนบทพบ ร้อยละ 80.6 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 5.0 ซี่/คน เขตเมืองและกรุงเทพมหานครพบร้อยละ 72.0 และ 66.1 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 4.2 และ 3.7 ซี่/คน ตามลำดับ และยังพบการสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 6.5 และ พบเด็กอายุ 5 ปี มีฟันถาวรขึ้นร้อยละ 18.6
เด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3 ปี และ 5 ปี พบว่าสถานการณ์ในเด็กอายุ 3 ปี มีความใกล้เคียงกับ การสำรวจครั้งที่ผ่านมา โดยพบผู้ปราศจากโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 47.1 ในเด็กอายุ 5 ปี มีแนวโน้มการปราศจากโรคฟันผุเพิ่มขึ้นคือร้อยละ 24.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กก่อนวัยเรียน ทั้ง 2 กลุ่มอายุประมาณร้อยละ 40.0 มีคราบจุลินทรีย์อยู่ในระดับเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ พบฟันผุ ระยะเริ่มต้นในเด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี ร้อยละ 31.1 และร้อยละ 31.3 ตามลำดับ ซึ่งเด็กกลุ่มนี้จำเป็น ต้องได้รับการส่งเสริมป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดฟันผุเป็นรู นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 18.6 มีฟันกรามถาวรซี่ที่หนึ่งขึ้นในช่องปากแล้ว การให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากตั้งแต่ช่วงปฐมวัยจึงมีความสำคัญ และลดโอกาสเกิดฟันถาวรผุได้ โดยสิ่งสำคัญที่ต้องเน้นย้ำเพิ่มเติมคือ พฤติกรรม ทันตสุขภาพที่พึงประสงค์ได้แก่ การแปรงฟันอย่างมีคุณภาพ และพฤติกรรมการบริโภคนม แม้ว่า เด็กส่วนใหญ่จะแปรงฟันตอนเช้าก่อนมาโรงเรียน แต่พบว่าผู้ปกครองของเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 44.1 ปล่อยให้เด็กแปรงฟันด้วยตนเอง และเมื่อเด็กโตขึ้นพบว่าในกลุ่มอายุ 5 ปี เด็กถูกปล่อยให้แปรงฟันเอง ถึงร้อยละ 80.4 มีเพียงร้อยละ 14.4 ที่ผู้ปกครองยังคงแปรงให้ พฤติกรรมการดื่มนมเด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี ดื่มนมหวานและนมเปรี้ยวเมื่ออยู่ที่บ้านถึงร้อยละ 44.5 และ 47.6 ตามลำดับ เด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 39.5 ใช้ขวดนมเมื่ออยู่ที่บ้าน และยังมีเด็กอายุ 5 ปี อีกร้อยละ 11.9 ที่ยังคงดูดนมจากขวด ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ จากการบริการทันตกรรมกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน ปี 2561 พบว่า เด็กอายุ 0-2 ปี จำนวน 462 คน ได้รับบริการทางทันตกรรม 340 คน คิดเป็นร้อยละ 73.59 มีฟันผุ 117 คน คิดเป็นร้อยละ 34.41 และเด็กอายุ 3-5 ปี จำนวน 470 คน ได้รับบริการทางทันตกรรม 276 คน คิดเป็นร้อยละ 58.72 มีฟันผุ 126 คน คิดเป็นร้อยละ 45.65 ซึ่งเด็กก่อนวัยเรียนยังมีพฤติกรรมที่ยังดูดขวดนม และกินอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ ด้วยเหตุนี้ การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียนมากขึ้น 2.2 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็กก่อนวัยเรียน 2.3 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และชุมชนในการส่งเสริมทันต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    10.1 เด็กก่อนวัยเรียน ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 10.2 ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 10.3 ผู้ปกครองมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 2.1 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียนมากขึ้น 2.2 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็กก่อนวัยเรียน 2.3 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และชุมชนในการส่งเสริมทันต
    ตัวชี้วัด : 3.1 เด็กก่อนวัยเรียน ในเขตเทศบาลตำบลปริก มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 20 ของผู้เข้าร่วมโครงการ 3.2 เด็กก่อนวัยเรียน ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์ ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ 3.3 ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียนมากขึ้น 2.2 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็กก่อนวัยเรียน 2.3 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และชุมชนในการส่งเสริมทันต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพสต. )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด