กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการอบรม อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการอบรม อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 สิงหาคม 2563 ถึง 26 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรม อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรม อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรม อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 สิงหาคม 2563 - 26 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่จะมีการส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ซึ่งจากการสังเกตพฤติกรรมในการเลือกรับประทานอาหารหรือการเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทยาและเครื่องสำอางของเยาวชนในวัยเรียน ซึ่งส่วนใหญ่มักมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่สีสันต้องตาหรือกำลังอยู่ในช่วงของการโฆษณาตามสื่อประเภทต่างๆ โดยมิได้คำนึงถึงประโยชน์อันตรายหรือความปลอดภัย ซึ่งสาเหตุนั้นเกิดจากลุ่มเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มผู้บริโภคอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญ ที่อาจขาดความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตออกมาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภค แต่อาจแอบอ้างสรรพคุณโฆษณาชวนเชื่อเกินจริง หรืออาจมีผลิตภัณฑ์ที่มีสารปนเปื้อนเป็นอันตราย ซึ่งจะเห็นได้ว่ากลุ่มเยาวชนนั้นเป็นกลุ่มที่เราสามารถให้การปลูกฝังความรู้ ในเรื่องต่างๆและนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ได้ตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการอบรม อย.น้อย ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนให้มีทักษะเกี่ยวกับการเลือกซื้อ/เลือกใช้อาหาร ยา และเครื่องสำอาง ตลอดจนตรวจสอบสารปนเปื้อนต่างๆโดยใช้ชุดทดสอบหรือการพิจารณาสังเกต เพื่อให้สามารถเลือกบริโภคได้อย่างปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 กิจกรรมอบรมให้นักเรียน อย.น้อย ความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย 2 กิจกรรมออกตรวจร้านชำชุมชนในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียน อย.น้อย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ
เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว 2 นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรมอย.น้อย ทั้งในโรงเรียนและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1 กิจกรรมอบรมให้นักเรียน อย.น้อย ความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย 2 กิจกรรมออกตรวจร้านชำชุมชนในพื้นที่

วันที่ 26 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรให้ความรู้เรื่องการเลือกซื้ออาหาร ยาและเครื่องสำอางแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  และครู ประกอบด้วยโรงเรียน โรงเรียนวัดควนปันตาราม โรงเรียนวัดสุนทราวาส โรงเรียนบ้านปากสระ โรงเรียนบ้านสำนักกอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้เรื่องหลักการเลือกซื้ออาหารที่ถูกต้อง สามารถตอบคำถามได้ และผ่านการทดสอบความรู้ก่อนและหลังทุกคน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 - ให้ความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร ยาและเครื่องสำอาง แก่นักเรียน         -นักเรียนฝึกปฏิบัติการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 3 ชนิด 2.ผลสัมฤทธิ์ของการเลือกกลุ่มเป้าหมาย 1.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการเลือกซื้ออาหาร ยาและเครื่องสำอางแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และครู ประกอบด้วยโรงเรียน โรงเรียนวัดควนปันตาราม โรงเรียนวัดสุนทราวาส โรงเรียนบ้านปากสระ โรงเรียนบ้านสำนักกอ 3.ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม นักเรียนมีความรู้เรื่องหลักการเลือกซื้ออาหารที่ถูกต้อง สามารถตอบคำถามได้ และผ่านการทดสอบความรู้ก่อนและหลังทุกคน จากการทดสอบนักเรียนสามารถตรวจหาสารปนเปื้อนจำนวน 3 ชนิด ได้แก่การตรวจหาสารบอแรกซ์ สารฟอกขาว และสารฟอร์มาลีน  ได้อย่างถูกต้อง คะแนนเฉลี่ยก่อนรับการอบรม6.25 คะแนนเฉลี่ยหลังการอบรม 8.75 4. ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 26 สิงหาคม 2563 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ  9,600 บาท
    งบประมาณเบิกจ่ายจริง  9,600 บาท  คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท  คิดเป็นร้อยละ - รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้       1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร และผู้จัด
จำนวน 60 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร และผู้จัด จำนวน 60 คน x 1 มื้อ x 50 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าสมนาคุณวิทยากร มีรายละเอียดดังนี้     3.1 เภสัชกรบรรจง บุญญาพิทักษ์ โรงพยาบาลควนขนุน จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4.ค่าวัสดุอบรม จำนวน 60 ชุด x  30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
6. ผลที่ได้รับ 1. นักเรียน อย.น้อย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ
เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว 2. นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรมอย.น้อย ทั้งในโรงเรียนและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 58
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 58
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมอบรมให้นักเรียน อย.น้อย ความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย 2 กิจกรรมออกตรวจร้านชำชุมชนในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรม อย.น้อยคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด