โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
(นางทัศนีย์ มัสนุช) ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนเก้าเส้ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-02-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7250-02-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ที่เข้าสู่สภาวการณ์ระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic) สำหรับประเทศไทยการแพร่ระบาดได้กระจายลงสู่ระดับพื้นที่อย่างกว้างขวาง ทำให้รัฐบาลต้องประกาศมาตรการรับมือที่เข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ไปจนถึงระดับหมู่บ้าน และชุมชนในเขตเมือง ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้ให้ความเห็นเรื่องการรับมือกับสถานการณ์โควิด 19 ให้สามารถดำเนินการได้บรรลุผลต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชน ที่มีความรู้ความเข้าใจต่อสถานการณ์ ข้อมูล วิธีการปฏิบัติตน เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างพลังทางสังคม พลังความรู้ และพลังของรัฐ ที่จะทำให้เกิดข้อตกลงมาตรการทางสังคมที่จะสนับสนุนมาตรการด้านการดูแลสุขภาพ อาทิเช่น การเป็นเครือข่ายเฝ้าระวัง การส่งต่อข้อมูลความรู้ ข่าวสาร การระดมทรัพยากรเพื่อหนุนช่วยการดูแลรักษา การหาแนวทางการดูแลคนในชุมชน สังคม
ปัจจุบันมีผู้ติดเชื้อ ประเทศทั่วโลก 1,853,217 ราย เสียชีวิต 114,250 ราย รวมถึงประเทศไทยขณะนี้มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,613 ราย ผู้ป่วยยืนยันรายใหม่ 34 ราย เสียชีวิต 41 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสะสม 34,848 ราย เฝ้าระวังรายใหม่ 62 ราย ข้อมูลเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563 (กรมควบคุมโรค,กระทรวงสาธารณสุข, 2563)
ในจังหวัดสงขลา ผู้ป่วยยีนยันสะสม 56 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 594 ราย รักษาหายกลับบ้านแล้ว 26 ราย ยังรักษาตัวอยู่ใน รพ. 30 ราย ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต และไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ เป็นเวลา 9 วัน ตั้งแต่วันที่ 5-13 เม.ย.63 (สำนักงานสาธารณสุขสงขลา) อำเภอเมืองสงขลามีผู้ที่เข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 45 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย รักษาหายแล้ว มีผู้เดินทางเข้ามาในพื้นที่ อ.เมืองสงขลา 928 ราย ตำบลเขารูปช้างสูงสุด 248 ราย ตำบลบ่อยาง 224 ราย อยู่ระหว่างเฝ้าระวัง 53 ราย ครบระยะเฝ้าระยะ 14 วัน 171 รายประกอบกับในช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน 2563 พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ได้ดูแลเฝ้าระวัง ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน จำนวน 64 ราย ครบ 14 วัน และติดตามต่อเนื่องอีกจำนวน 7 ราย คาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงซึ่งเดินทางค้าขาย และทำอาชีพประมงซึ่งไม่ผ่านระบบทางราชการในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมาได้รับแจ้งจาก อสม. โดยตรง จำนวน 22-25 ราย จึงคาดการณ์กลุ่มเสี่ยงโควิ 19 ที่ต้องเฝ้าระวังจำนวน 30 ราย ในช่วงเดือน พฤษภาคม – กันยายน 2563 ไว้ตามลำดับ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังโรค และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
- 2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อสม.แกนนำมีความตระหนักในบทบาทและสร้างคุณค่าของการป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด 19 ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
กิจกรรมที่ 1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม แก้ไขปัญหา กับจนท. อสม.แกนนำ ประธานชุมชน จำนวน 2 ครั้งดังนี้
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลสงขลาเขตเมือง
เวลา 8.00 – 12.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน
ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลสงขลาเขตเมือง
เวลา 13.00 – 16.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายไวนิล และการเคาะประตูบ้านของอสม.
เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ร่วมกับทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายไวนิลในชุมชน และกิจกรรม อสม.เคาะประตูบ้าน
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้านครบ 14 วัน
ในช่วงสถานการณ์ระบาด COVID- 19 เพื่อในการยังยั้งการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน มีกิจกรรม อสม.ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน เพื่อสังเกตอาการและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ พร้อมวัดอุณหภูมิร่างกาย และให้ความรู้วิธีการยังยั้งการแพร่ระบาดของโรค มีการติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงที่กักตัวที่บ้านในชุมชน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ PCU ชลาทัศน์ จำนวน 87 ราย พร้อมทั้งได้มีการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เป็นเครื่องมือป้องกันตนเองให้กับ อสม. ได้แก่ ปรอทวัดไข้แบบสแกน, ถุงมือยาง, เสื้อกันฝน, surgical mask และให้ค่าตอบแทน เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ ในการลงปฏิบัติงานของ อสม. ในการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน พบว่า มีการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้านในแต่ละชุมชน ดังนี้
ชุมชน จำนวนกลุ่มเสี่ยง (คน) หมายเหตุ
1. ชุมชนบาลาเซาะห์ 20 ได้รับค่าตอบแทน 1,140 บาท
2. ชุมชนวชิราทะเลหลวงดอกรักษ์ 19 ได้รับค่าตอบแทน 1,083 บาท
3. ชุมชนเก้าเส้ง 16 ได้รับค่าตอบแทน 912 บาท
4. ชุมชนวชิราทะเลหลวง 10 ได้รับค่าตอบแทน 570 บาท
5. ชุมชนวชิราซอยคี่ 10 ได้รับค่าตอบแทน 570 บาท
6. ชุมชนวชิราทะเลหลวง 10 ได้รับค่าตอบแทน 570 บาท
7. ชุมชนหลัง รพ.จิตเวช 1 ได้รับค่าตอบแทน 57 บาท
(ต่อ)
ชุมชน จำนวนกลุ่มเสี่ยง (คน) หมายเหตุ
8. ชุมชนพิเศษทหารเรือ 1 ได้รับค่าตอบแทน 57 บาท
9. ชุมชนพิเศษ ตชด. 1 ได้รับค่าตอบแทน 57 บาท
รวม 87 คน รวม ค่าตอบแทน 5,016 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังโรค และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามเยี่ยมที่บ้านครบ 14 วัน
0.00
- อสม. มีการติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงที่บ้านทำได้ ร้อยละ 100 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเยี่ยมที่บ้านติดต่อกัน 14 วัน มีจำนวน 87 คน
2
2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและชุมชน
ตัวชี้วัด : 2. เกิดแนวทางป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหา โรคโควิด 19 ในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
100.00
100.00
- ร้อยละ 100 ของ อสม. มีความรู้แนวทางป้องกันควบคุมโรคโควิด 19 ตามแนวทางปฏิบัติ และป้องกันตนเองของ อสม. ได้ดำเนินการ ดังนี้
(1) สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งในการปฏิบัติงาน
(2) ล้างมือบ่อย ๆ เมื่อสัมผัสจับต้องสิ่งของต่าง ๆ
(3) เว้นระยะห่างมากกว่า 2 เมตร (4)บันทึกและรายงานผลการปฏิบัติงานหลังเยี่ยมบ้านตามแบบฟอร์ม
(5) กรณีพบผู้มีอาการต้องสงสัยในชุมชน ที่มีอาการ ไข้ ไอ มีน้ำมูก จาม เจ็บคอ หายใจเหนื่อยหรือหายใจลำบาก ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ PCU ชลาทัศน์ ทันที
(6) อสม.พึงสังเกตอาการตนเอง เมื่อมีอาการป่วย ให้หยุดปฏิบัติงานในชุมชน และพบแพทย์ทันที
จากผลการดำเนินงานไม่พบผู้ติดเชื้อ COVID19 และไม่มี อสม.ป่วย ทั้ง 10 ชุมชนในพื้นที่ PCU ชลาทัศน์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังโรค และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-02-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( (นางทัศนีย์ มัสนุช) ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนเก้าเส้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
(นางทัศนีย์ มัสนุช) ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนเก้าเส้ง
กันยายน 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-02-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7250-02-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ที่เข้าสู่สภาวการณ์ระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic) สำหรับประเทศไทยการแพร่ระบาดได้กระจายลงสู่ระดับพื้นที่อย่างกว้างขวาง ทำให้รัฐบาลต้องประกาศมาตรการรับมือที่เข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ไปจนถึงระดับหมู่บ้าน และชุมชนในเขตเมือง ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้ให้ความเห็นเรื่องการรับมือกับสถานการณ์โควิด 19 ให้สามารถดำเนินการได้บรรลุผลต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชน ที่มีความรู้ความเข้าใจต่อสถานการณ์ ข้อมูล วิธีการปฏิบัติตน เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างพลังทางสังคม พลังความรู้ และพลังของรัฐ ที่จะทำให้เกิดข้อตกลงมาตรการทางสังคมที่จะสนับสนุนมาตรการด้านการดูแลสุขภาพ อาทิเช่น การเป็นเครือข่ายเฝ้าระวัง การส่งต่อข้อมูลความรู้ ข่าวสาร การระดมทรัพยากรเพื่อหนุนช่วยการดูแลรักษา การหาแนวทางการดูแลคนในชุมชน สังคม
ปัจจุบันมีผู้ติดเชื้อ ประเทศทั่วโลก 1,853,217 ราย เสียชีวิต 114,250 ราย รวมถึงประเทศไทยขณะนี้มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,613 ราย ผู้ป่วยยืนยันรายใหม่ 34 ราย เสียชีวิต 41 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสะสม 34,848 ราย เฝ้าระวังรายใหม่ 62 ราย ข้อมูลเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563 (กรมควบคุมโรค,กระทรวงสาธารณสุข, 2563)
ในจังหวัดสงขลา ผู้ป่วยยีนยันสะสม 56 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 594 ราย รักษาหายกลับบ้านแล้ว 26 ราย ยังรักษาตัวอยู่ใน รพ. 30 ราย ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต และไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ เป็นเวลา 9 วัน ตั้งแต่วันที่ 5-13 เม.ย.63 (สำนักงานสาธารณสุขสงขลา) อำเภอเมืองสงขลามีผู้ที่เข้าเกณฑ์เฝ้าระวังสอบสวนโรค 45 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย รักษาหายแล้ว มีผู้เดินทางเข้ามาในพื้นที่ อ.เมืองสงขลา 928 ราย ตำบลเขารูปช้างสูงสุด 248 ราย ตำบลบ่อยาง 224 ราย อยู่ระหว่างเฝ้าระวัง 53 ราย ครบระยะเฝ้าระยะ 14 วัน 171 รายประกอบกับในช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน 2563 พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ได้ดูแลเฝ้าระวัง ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน จำนวน 64 ราย ครบ 14 วัน และติดตามต่อเนื่องอีกจำนวน 7 ราย คาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงซึ่งเดินทางค้าขาย และทำอาชีพประมงซึ่งไม่ผ่านระบบทางราชการในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมาได้รับแจ้งจาก อสม. โดยตรง จำนวน 22-25 ราย จึงคาดการณ์กลุ่มเสี่ยงโควิ 19 ที่ต้องเฝ้าระวังจำนวน 30 ราย ในช่วงเดือน พฤษภาคม – กันยายน 2563 ไว้ตามลำดับ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังโรค และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
- 2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อสม.แกนนำมีความตระหนักในบทบาทและสร้างคุณค่าของการป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโควิด 19 ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
กิจกรรมที่ 1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม แก้ไขปัญหา กับจนท. อสม.แกนนำ ประธานชุมชน จำนวน 2 ครั้งดังนี้
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลสงขลาเขตเมือง
เวลา 8.00 – 12.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน
ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลสงขลาเขตเมือง
เวลา 13.00 – 16.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายไวนิล และการเคาะประตูบ้านของอสม.
เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ร่วมกับทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายไวนิลในชุมชน และกิจกรรม อสม.เคาะประตูบ้าน
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้านครบ 14 วัน ในช่วงสถานการณ์ระบาด COVID- 19 เพื่อในการยังยั้งการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน มีกิจกรรม อสม.ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน เพื่อสังเกตอาการและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ พร้อมวัดอุณหภูมิร่างกาย และให้ความรู้วิธีการยังยั้งการแพร่ระบาดของโรค มีการติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงที่กักตัวที่บ้านในชุมชน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ PCU ชลาทัศน์ จำนวน 87 ราย พร้อมทั้งได้มีการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เป็นเครื่องมือป้องกันตนเองให้กับ อสม. ได้แก่ ปรอทวัดไข้แบบสแกน, ถุงมือยาง, เสื้อกันฝน, surgical mask และให้ค่าตอบแทน เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ ในการลงปฏิบัติงานของ อสม. ในการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้าน พบว่า มีการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่บ้านในแต่ละชุมชน ดังนี้
ชุมชน จำนวนกลุ่มเสี่ยง (คน) หมายเหตุ 1. ชุมชนบาลาเซาะห์ 20 ได้รับค่าตอบแทน 1,140 บาท 2. ชุมชนวชิราทะเลหลวงดอกรักษ์ 19 ได้รับค่าตอบแทน 1,083 บาท 3. ชุมชนเก้าเส้ง 16 ได้รับค่าตอบแทน 912 บาท 4. ชุมชนวชิราทะเลหลวง 10 ได้รับค่าตอบแทน 570 บาท 5. ชุมชนวชิราซอยคี่ 10 ได้รับค่าตอบแทน 570 บาท 6. ชุมชนวชิราทะเลหลวง 10 ได้รับค่าตอบแทน 570 บาท 7. ชุมชนหลัง รพ.จิตเวช 1 ได้รับค่าตอบแทน 57 บาท
(ต่อ) ชุมชน จำนวนกลุ่มเสี่ยง (คน) หมายเหตุ 8. ชุมชนพิเศษทหารเรือ 1 ได้รับค่าตอบแทน 57 บาท 9. ชุมชนพิเศษ ตชด. 1 ได้รับค่าตอบแทน 57 บาท รวม 87 คน รวม ค่าตอบแทน 5,016 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังโรค และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามเยี่ยมที่บ้านครบ 14 วัน |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและชุมชน ตัวชี้วัด : 2. เกิดแนวทางป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหา โรคโควิด 19 ในชุมชนได้อย่างถูกต้อง |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังโรค และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรวมพลังชุมชน ป้องกันและควบคุม สู้ภัยโควิด 19 ในเขตพื้นที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7250-02-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( (นางทัศนีย์ มัสนุช) ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนเก้าเส้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......