กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ


“ พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีและแกนนำหมู่บ้านด้านมะเร็งปี ๒๕๖๐ ”

ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสามีเราะห์ มะรือโบอุมา

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีและแกนนำหมู่บ้านด้านมะเร็งปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม 2560 ถึง 12 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีและแกนนำหมู่บ้านด้านมะเร็งปี ๒๕๖๐ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีและแกนนำหมู่บ้านด้านมะเร็งปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีและแกนนำหมู่บ้านด้านมะเร็งปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กรกฎาคม 2560 - 12 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลทำให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพโดยรวมของประชาชนไทย จากการเปลี่ยนแปลงตามวัยและสภาพแวดล้อมสตรีไทยจึงจำเป็นต้องได้รับการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงและลดภาวะเสี่ยงต่างๆ โดยเฉพาะมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ซึ่งมีอัตราการเกิดโรคสูงเป็นอันดับหนึ่งและอันดับสอง และพบได้มากในสตรีช่วงวัยเจริญพันธุ์จากรายงานของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ จากหนังสือแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๖–พ.ศ.๒๕๖๐ )พบว่าประเทศไทยมีจำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกปีละเท่ากับ ๒๐.๙ ต่อประชากรสตรี หนึ่งแสนคนต่อปี ในแต่ละปีมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน และมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกประมาณ ๕,๒๐๐ คนหรือประมาณร้อยละ ๒๗ และมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเฉลี่ยวันละ๑๔ คน พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมละเท่ากับ๑๖.๓ ต่อประชากรสตรี หนึ่งแสนคนต่อปี พบผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่มากเป็นลำดับที่ ๔ หรือพบผู้ป่วยรายใหม่ ๑๑,๔๙๖ราย/ปี อัตราการเสียชีวิต ๖,๘๔๕ราย/ปี จากคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดนราธิวาสพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกจำนวน ๒๘๗ คน พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมจำนวน ๓๔๙คน ในตำบลจะแนะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกจำนวน ๒ คน ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมจำนวน ๒ คน ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่ ๒ คน ดังนั้นการที่จะทำให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักและใส่ใจกับสุขภาพของตนเองอย่างเป็นธรรมชาติควบคู่ไปกับการดำเนินชีวิตประจำวันโดยไม่รู้สึกเป็นภาระ จะต้องมีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบเพื่อสอนให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ทำให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ด้วยการพัฒนาคนด้านสุขภาพโดยเฉพาะ แกนนำสตรี ซึ่งเป็นแบบอย่างการดูแลสุขภาพตนเองของชาวบ้าน จัดกระบวนการเรียนรู้และฝึกทักษะด้านสุขภาพให้ แกนนำสตรี มีศักยภาพที่จะดูแลและถ่ายทอดความรู้ไปยังครัวเรือนที่รับผิดชอบ ตลอดจนสร้างกระแสให้เกิดการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทได้ดียิ่งขึ้น จากผลการดำเนินงานมะเร็งปี ๒๕๕๙ พบว่าเครือข่ายแกนนำสตรียังไม่เข้มแข็งเท่าที่ควร แกนนำสตรีที่เป็นกลุ่มเป้าหมายยังตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกไม่ครอบคลุมทุกคน สตรีอายุ๓๐-๖๐ปีมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกคิดเป็นร้อยละ๑๓.๗๐ ซึ่งยังไม่ถึงร้อยละ๒๐ เนื่องจากบางคนยังไม่ตระหนักเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มีทัศนคติที่ไม่ดี เช่น กลัว อาย กลัวว่าตรวจแล้วจะพบความผิดปกติ สตรีอายุ๓๐-๗๐ปี บางคนยังตรวจเต้านมด้วยตนเองไม่ถูกวิธี ตรวจไม่ต่อเนื่อง แกนนำสตรีมีการติดตาม ประเมินการตรวจเต้านมด้วยตนเองของกลุ่มเป้าหมายยังไม่ต่อเนื่อง สำหรับกลุ่มเป้าหมายอายุ๕๐ ปีขึ้นไป ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่จำนวน ๕รายพบผล Positive ๒ ครั้งในจำนวน ๓ ครั้ง จำนวน ๔ รายซึ่งเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่แต่ปฏิเสธการส่องกล้องทั้ง ๔ รายดังนั้นกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนจึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีด้านมะเร็งปี ๒๕๖๐เพื่อให้แกนนำสตรี มีการพัฒนาศักยภาพ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ให้เกิดการพัฒนาและการสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการดูแลจัดการด้านสุขภาพ เชื่อมโยงไปถึงการพัฒนาด้านอื่น ๆ การรวมพลังกับแกนนำสุขภาพอื่น ๆ ในการสร้างสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ ๓๐-๖๐ปีได้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๒๐
  2. ๒.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๙๐
  3. ๓. แกนนำสตรีมีศักยภาพในการให้คำแนะนำและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
  4. ๔.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
  5. ๕.เพื่อให้แกนนำสตรี มีศักยภาพในการให้คำแนะนำและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  6. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
  7. เพื่อค้นหาความผิดปกติก่อนระยะเป็นมะเร็ง
  8. กิจกรรมที่ ๒ พัฒนาศักยภาพด้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำหมู่บ้านให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
  9. .เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบทบาทแกนนำหมู่บ้านให้เป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างในการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
  10. เพื่อให้แกนนำหมู่บ้าน มีทักษะในการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
  11. เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำในการค้นหา จูงใจกลุ่มเป้าหมายในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม
  2. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กิจกรรมที่๑ พัฒนาศักยภาพด้านมะเร็งปากมดลูก ๑.แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ ๓๐-๖๐ปีได้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๒๐
๒.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๙๐ ๓.แกนนำสตรีมีศักยภาพในการให้คำแนะนำและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น ๔. สามารถค้นหาความผิดปกติก่อนระยะเป็นมะเร็งร้อยละ๗๐ ๕.แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ ๓๐-๖๐ปีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ๙๐


๖.แกนนำสตรีสามารถเป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างในการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ๗.แกนนำสตรีมีศักยภาพและทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธีและสามารถสอนกลุ่มเป้าหมายสตรีในเขตครัวเรือนที่รับผิดชอบได้ร้อยละ๙๕ ๘. สามารถค้นหาความผิดปกติของก้อนที่เต้านมก่อนระยะเป็นมะเร็งร้อยละ๗๐ กิจกรรมที่๑ พัฒนาศักยภาพด้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ ๑.แกนนำชุมชนและผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ร้อยละ ๙๕ ๒.แกนนำหมู่บ้านสามารถเป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างในการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ๓.แกนนำหมู่บ้าน มีทักษะในการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ร้อยละ ๗๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 11 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและได้ตระหนักถึงการป้องกันและมีการเผยแพร่ความรู้ในชุมชนต่อไป

 

220 220

2. อบรม

วันที่ 12 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นร้อยละ 85แลสามารถสาธิตย้อนกลับวิธีการ เก็บสิ่งส่งตรวจได้อย่างถูกต้อง

 

50 50

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ ๓๐-๖๐ปีได้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๒๐
ตัวชี้วัด :

 

2 ๒.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๙๐
ตัวชี้วัด :

 

3 ๓. แกนนำสตรีมีศักยภาพในการให้คำแนะนำและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

4 ๔.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

5 ๕.เพื่อให้แกนนำสตรี มีศักยภาพในการให้คำแนะนำและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด :

 

6 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :

 

7 เพื่อค้นหาความผิดปกติก่อนระยะเป็นมะเร็ง
ตัวชี้วัด :

 

8 กิจกรรมที่ ๒ พัฒนาศักยภาพด้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำหมู่บ้านให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด :

 

9 .เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบทบาทแกนนำหมู่บ้านให้เป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างในการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด :

 

10 เพื่อให้แกนนำหมู่บ้าน มีทักษะในการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด :

 

11 เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำในการค้นหา จูงใจกลุ่มเป้าหมายในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ ๓๐-๖๐ปีได้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๒๐ (2) ๒.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๙๐ (3) ๓. แกนนำสตรีมีศักยภาพในการให้คำแนะนำและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น (4) ๔.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น (5) ๕.เพื่อให้แกนนำสตรี มีศักยภาพในการให้คำแนะนำและเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (6) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง (7) เพื่อค้นหาความผิดปกติก่อนระยะเป็นมะเร็ง (8) กิจกรรมที่ ๒ พัฒนาศักยภาพด้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำหมู่บ้านให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ (9) .เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบทบาทแกนนำหมู่บ้านให้เป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างในการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ (10) เพื่อให้แกนนำหมู่บ้าน มีทักษะในการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ (11) เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำในการค้นหา จูงใจกลุ่มเป้าหมายในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพแกนนำสตรีและแกนนำหมู่บ้านด้านมะเร็งปี ๒๕๖๐ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสามีเราะห์ มะรือโบอุมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด