โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางน้ำฝน พรหมน้อย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2486-1-06 เลขที่ข้อตกลง 7/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน (2) เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
1.อสม.บางคนขาดความชำนาญในการลงกราฟโภชนาการ
2.อสม.ใหม่ยังไม่กล้าลงมือปฎิบัติในการเจาะเลือดเบาหวาน
แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
1.อสม.ควรลงกราฟโภชนาการและฝึกการเจาะเลือดเบาหวานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความชำนาญ
2.อสม.เก่าควรเป็นพี่เลี้ยงให้กับ อสม.ใหม่ เพื่อฝึกฝนงานที่ต้องปฎิบัติเป็นประจำ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพ หรือสุขภาวะ คือ ภาวะที่เป็นสุข ภาวะแห่งความเป็นปกติของชีวิตด้านกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตั้งแต่เกิด ดำรงชีวิต เจ็บป่วย และตาย ทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและสังคม ดังนั้นการดูแลสุขภาพจึงควรดูแลแบบองค์รวมทั้งด้านวิถีชีวิตและวิธีคิด เพื่อให้เกิดความมั่งคงด้านสุขภาพ รวมถึงไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย ล้มตาย สูญเสีย ทุกข์ทรมาน หรือมีความเสี่ยงต่อสิ่งเหล่านี้โดยไม่จำเป็น เพราะอาการเหล่านี้จะบ่งบอกถึงความเบี่ยงเบนของสังคมที่แวดล้อมชีวิต ความเป็นอยู่ของคน ด้วยเหตุดังกล่าว ประชาชนต้องการความคิดใหม่และจินตนาการใหม่เกี่ยวกับสุขภาพ จึงสามารถสร้างสุขภาพได้ ความคิดเก่าและจินตนาการเก่าไม่สามารถสร้างสุขภาพได้จริง และก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก เมื่อนึกถึงคำว่า “สุขภาพ” ประชาชนมักมองเห็นภาพโรงพยาบาล แพทย์ พยาบาล และยา เท่านั้น ระบบสุขภาพแบบเดิมจึงเป็นระบบตั้งรับ คือ รอให้คนสุขภาพเสียหรือเจ็บป่วยเสียก่อนแล้วค่อยมาโรงพยาบาล สังคมสนใจแต่การทุ่มทรัพยากรในการสร้างโรงพยาบาลให้เพียงพอ แต่ก็ไม่เพียงพอกับคนที่ป่วยที่นับวันยิ่งเพิ่มมากขึ้น จนไม่สามารถแก้วิกฤติทางสุขภาพได้ แนวคิดใหม่และจินตนาการใหม่ จึงต้องเป็นการร่วมคิด ร่วมสร้างสุขภาพ เป็นกระแสทางบวกที่สามารถนำไปสู่การมีสุขภาพดีได้ เพราะการสร้างสุขภาพถือเป็นกลไกและมาตรการสำคัญในการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนไทยให้มีสุขภาวะ โดยใช้กระบวนการสร้างนำซ่อมสุขภาพ ที่เรียกว่า “ระบบสุขภาพชุมชน”
การดูแลระบบสุขภาพชุมชน กระทรวงสาธารณสุขได้มีกระบวนการพัฒนาอย่างเป็นระบบมาโดยตลอดทุกปี ไม่ว่าจะเป็นการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ และการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้นำกระบวนการสาธารณสุขมูลฐาน มาใช้เป็นกลวิธีในการพัฒนาสุขภาพชุมชน ดังนั้น อสม.ควรผ่านการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน
- เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
38
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้ความสามารถเป็นผู้นำในการสร้างสุขภาพให้แก่ชาวบ้านในชุมชนได้
- อสม.มีศักยภาพในการดำเนินงาน เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขภาพในชุมชนได้เป็นอย่างดี
- อสม.ให้ชุมชนสามารถจัดการกับระบบสุขภาพของชุมชนได้อย่างเหมาะสมด้วยตัวชุมชนเองเพื่อนำไปสู่การปฎิบัติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563กิจกรรมที่ทำ
1.จัดกิจกรรม อสม. และฝึกปฎิบัติ ดังนี้
1.1 ฝึกปฎิบัติการใช้เครื่องวัดความดันที่ถูกต้อง
1.2 ฝึกปฎิบัติการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน
1.3 ฝึกปฎิบัติการลงข้อมูลน้ำหนักเด็กในสมุดสีชมพูและการประเมินภาวะทุพโภชนาการ
2.ให้ความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น ผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ ติดบ้าน
3.ให้ความรู้หลักการควบคุมโรคระบาดในพื้นที่ การแจ้งข้อมูลการเกิดโรคระบาด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.อสม.สามารถลงมือในการเจาะเบาหวาน ลงกราฟโภชนาการได้
2.อสม.มีความรู้ในการปฏิบัติงานในชุมชนได้
38
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.จัดกิจกรรม อสม. และฝึกปฎิบัติ ดังนี้
1.1 ฝึกปฎิบัติการใช้เครื่องวัดความดันที่ถูกต้อง
1.2 ฝึกปฎิบัติการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน
1.3 ฝึกปฎิบัติการลงข้อมูลน้ำหนักเด็กในสมุดสีชมพูและการประเมินภาวะทุพโภชนาการ
2.ให้ความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น ผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ ติดบ้าน
3.ให้ความรู้หลักการควบคุมโรคระบาดในพื้นที่ การแจ้งข้อมูลการเกิดโรคระบาด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน
ตัวชี้วัด : 1. อสม.เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100
0.00
100.00
2
เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.อสม.ได้รับความรู้และสามารถฝึกปฎิบัติได้ ร้อยละ 70
0.00
92.11
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
38
38
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
38
38
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน (2) เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
1.อสม.บางคนขาดความชำนาญในการลงกราฟโภชนาการ
2.อสม.ใหม่ยังไม่กล้าลงมือปฎิบัติในการเจาะเลือดเบาหวาน
แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
1.อสม.ควรลงกราฟโภชนาการและฝึกการเจาะเลือดเบาหวานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความชำนาญ
2.อสม.เก่าควรเป็นพี่เลี้ยงให้กับ อสม.ใหม่ เพื่อฝึกฝนงานที่ต้องปฎิบัติเป็นประจำ
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2486-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางน้ำฝน พรหมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางน้ำฝน พรหมน้อย
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2486-1-06 เลขที่ข้อตกลง 7/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน (2) เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
1.อสม.บางคนขาดความชำนาญในการลงกราฟโภชนาการ
2.อสม.ใหม่ยังไม่กล้าลงมือปฎิบัติในการเจาะเลือดเบาหวาน
แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
1.อสม.ควรลงกราฟโภชนาการและฝึกการเจาะเลือดเบาหวานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความชำนาญ
2.อสม.เก่าควรเป็นพี่เลี้ยงให้กับ อสม.ใหม่ เพื่อฝึกฝนงานที่ต้องปฎิบัติเป็นประจำ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพ หรือสุขภาวะ คือ ภาวะที่เป็นสุข ภาวะแห่งความเป็นปกติของชีวิตด้านกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตั้งแต่เกิด ดำรงชีวิต เจ็บป่วย และตาย ทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและสังคม ดังนั้นการดูแลสุขภาพจึงควรดูแลแบบองค์รวมทั้งด้านวิถีชีวิตและวิธีคิด เพื่อให้เกิดความมั่งคงด้านสุขภาพ รวมถึงไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย ล้มตาย สูญเสีย ทุกข์ทรมาน หรือมีความเสี่ยงต่อสิ่งเหล่านี้โดยไม่จำเป็น เพราะอาการเหล่านี้จะบ่งบอกถึงความเบี่ยงเบนของสังคมที่แวดล้อมชีวิต ความเป็นอยู่ของคน ด้วยเหตุดังกล่าว ประชาชนต้องการความคิดใหม่และจินตนาการใหม่เกี่ยวกับสุขภาพ จึงสามารถสร้างสุขภาพได้ ความคิดเก่าและจินตนาการเก่าไม่สามารถสร้างสุขภาพได้จริง และก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก เมื่อนึกถึงคำว่า “สุขภาพ” ประชาชนมักมองเห็นภาพโรงพยาบาล แพทย์ พยาบาล และยา เท่านั้น ระบบสุขภาพแบบเดิมจึงเป็นระบบตั้งรับ คือ รอให้คนสุขภาพเสียหรือเจ็บป่วยเสียก่อนแล้วค่อยมาโรงพยาบาล สังคมสนใจแต่การทุ่มทรัพยากรในการสร้างโรงพยาบาลให้เพียงพอ แต่ก็ไม่เพียงพอกับคนที่ป่วยที่นับวันยิ่งเพิ่มมากขึ้น จนไม่สามารถแก้วิกฤติทางสุขภาพได้ แนวคิดใหม่และจินตนาการใหม่ จึงต้องเป็นการร่วมคิด ร่วมสร้างสุขภาพ เป็นกระแสทางบวกที่สามารถนำไปสู่การมีสุขภาพดีได้ เพราะการสร้างสุขภาพถือเป็นกลไกและมาตรการสำคัญในการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนไทยให้มีสุขภาวะ โดยใช้กระบวนการสร้างนำซ่อมสุขภาพ ที่เรียกว่า “ระบบสุขภาพชุมชน” การดูแลระบบสุขภาพชุมชน กระทรวงสาธารณสุขได้มีกระบวนการพัฒนาอย่างเป็นระบบมาโดยตลอดทุกปี ไม่ว่าจะเป็นการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ และการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้นำกระบวนการสาธารณสุขมูลฐาน มาใช้เป็นกลวิธีในการพัฒนาสุขภาพชุมชน ดังนั้น อสม.ควรผ่านการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน
- เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 38 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้ความสามารถเป็นผู้นำในการสร้างสุขภาพให้แก่ชาวบ้านในชุมชนได้
- อสม.มีศักยภาพในการดำเนินงาน เพื่อส่งเสริมการสร้างสุขภาพในชุมชนได้เป็นอย่างดี
- อสม.ให้ชุมชนสามารถจัดการกับระบบสุขภาพของชุมชนได้อย่างเหมาะสมด้วยตัวชุมชนเองเพื่อนำไปสู่การปฎิบัติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้ |
||
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563กิจกรรมที่ทำ1.จัดกิจกรรม อสม. และฝึกปฎิบัติ ดังนี้
1.1 ฝึกปฎิบัติการใช้เครื่องวัดความดันที่ถูกต้อง
1.2 ฝึกปฎิบัติการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน
1.3 ฝึกปฎิบัติการลงข้อมูลน้ำหนักเด็กในสมุดสีชมพูและการประเมินภาวะทุพโภชนาการ
2.ให้ความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น ผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.อสม.สามารถลงมือในการเจาะเบาหวาน ลงกราฟโภชนาการได้
|
38 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.จัดกิจกรรม อสม. และฝึกปฎิบัติ ดังนี้
1.1 ฝึกปฎิบัติการใช้เครื่องวัดความดันที่ถูกต้อง
1.2 ฝึกปฎิบัติการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน
1.3 ฝึกปฎิบัติการลงข้อมูลน้ำหนักเด็กในสมุดสีชมพูและการประเมินภาวะทุพโภชนาการ
2.ให้ความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น ผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ ติดบ้าน
3.ให้ความรู้หลักการควบคุมโรคระบาดในพื้นที่ การแจ้งข้อมูลการเกิดโรคระบาด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน ตัวชี้วัด : 1. อสม.เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 |
0.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน ตัวชี้วัด : 2.อสม.ได้รับความรู้และสามารถฝึกปฎิบัติได้ ร้อยละ 70 |
0.00 | 92.11 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 38 | 38 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 38 | 38 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ของ อสม.ในการปฎิบัติงาน (2) เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม.และฝึกทักษะด้านต่างๆที่ อสม.ควรปฎิบัติได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ)
1.อสม.บางคนขาดความชำนาญในการลงกราฟโภชนาการ
2.อสม.ใหม่ยังไม่กล้าลงมือปฎิบัติในการเจาะเลือดเบาหวาน
แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
1.อสม.ควรลงกราฟโภชนาการและฝึกการเจาะเลือดเบาหวานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความชำนาญ
2.อสม.เก่าควรเป็นพี่เลี้ยงให้กับ อสม.ใหม่ เพื่อฝึกฝนงานที่ต้องปฎิบัติเป็นประจำ
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2563 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2486-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางน้ำฝน พรหมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......